การพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในพื้นที่ EECของจังหวัดชลบุรีตามนโยบายประเทศไทย 4.0

ผู้แต่ง

  • ณัฐพงษ์ จตุรชาติสุคนธ์ มหาวิทยาลัยพิษณุโลก
  • อภิชาติ ศิริบุญญกาล มหาวิทยาลัยพิษณุโลก

คำสำคัญ:

การพัฒนาอุตสาหกรรม, การท่องเที่ยวในพื้นที่ EEC, จังหวัดชลบุรี

บทคัดย่อ

การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) เป็นโครงการภายใต้แผนยุทธศาสตร์
ไทยแลนด์ 4.0 ที่มุ่งเน้นการพัฒนาเชิงพื้นที่โดยในระยะแรก เป็นการยกระดับพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง ให้เป็นเขตเศรษฐกิจชั้นนำ เป็นประตูเชื่อมโยงเอเชีย ด้วยการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และสอดคล้องกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน ขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่อรองรับการลงทุนอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ทันสมัย สร้างนวัตกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
บทความวิชาการนี้ เพื่อต้องการทราบถึงบทบาทของการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) โดยเสนอแนะและสร้างโมเดลแนวคิดในลักษณะการนำแนวคิดด้านการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) การเสนอโมเดลคิดนี้ขึ้นเพราะเนื่องจากปัจจุบันการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) ถูกนำมาใช้ในระบบราชการกันอย่างแพร่หลาย แต่อาจต้องมีการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมเพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น

References

Simarak, C., Trakuldee, C., and Sukantha, S., 2016. Guidelines for tourism development in Lamphun Province. Bangkok: Office of the Research Support Fund.

Eastern Economic Corridor Project .(2021) Data search date 27 April 2021, accessible from https://www.tfd-factory.com/th/privilege/eastern-economic-corridor-eec

Ministry of Tourism and Sports. (2017). Tourism economic situation report. Issue 1, July - September 2015. Bangkok: Office of the Permanent Secretary, Ministry of Tourism and Sports.

Neoliberalism Prachatai .(2021) Date of information search 27 April 2021, accessible from https://prachatai.com/journal/2016/07/66824

Office of the Eastern Special Development Zone Policy Committee. (2017). EEC Special Development Zone RegionEast. Bangkok: Office of the Eastern Special Development Zone Policy Committee.

Office of the National Economic and Social Development Board. (2017). Economic and Social Development Plan.National Edition No. 12 (2017 - 2021). Bangkok: Office of the Development Commission.national economy and society

Siriprakob, P.,(2019) Paradigms in Public Administration: Concepts, Theory, and Practical Applications. Print. 5th time. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Kwangten, R., (2013). Tourist opinions on the physical development of the Thai–Cambodian border trade market. Case study: Rong Kluea Market, Sa Kaeo Province. Special Problems Master's Degree, College of Public Administration Burapha University.

Prabhamkit, S., (2010). Assessment of the potential of tourist attractions in Mueang District. Trat Province to create an ecotourism route. Master's Thesis, Srinakharinwirot University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-10-2024

How to Cite

จตุรชาติสุคนธ์ ณ. ., & ศิริบุญญกาล อ. . (2024). การพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในพื้นที่ EECของจังหวัดชลบุรีตามนโยบายประเทศไทย 4.0. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 9(5), 410–417. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmbr/article/view/271595

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ