ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
คำสำคัญ:
ยุทธศาสตร์การพัฒนา; , เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ผลการศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุของการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 2) รูปแบบเชิงทฤษฏีของการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พบว่า 1) ปัจจัยเชิงสาเหตุของการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 4 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้บริหาร ด้านครู ด้านชุมชน และด้านหน่วยงานต้นสังกัด 2) ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพของการจัดการศึกษาโรงเรียนในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1ผู้บริหารเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ที่ 2 ครูมีความรอบรู้ในศาสตร์สมัยใหม่ที่จำเป็นต่อการพัฒนาผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วนเพื่อเสริมสร้างศักยภาพในพื้นที่เชิงรุก ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการติดตามตรวจสอบและประเมินผลด้วยระบบการบริหารงานที่ทันสมัย และ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงและดำเนินชีวิตวิถีใหม่ 3) ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพของการจัดการศึกษาโรงเรียนในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก อยู่ในระดับมาก
References
Faculty of Liberal Arts and Science, KASETSART University. (2017). Strategy What exactly is strategy?. Retrieved January 10, 2020, from http://www.flas.Kps.ku.ac.th/forum/index_php?topic-79.0.
Goodstain, L.D., Nolan, T.M.J.W. Preiffer. (1982). Applied Strategic Planning. A comprehensive Guide. San Diago, CA: Pfeiffer and Company.
Lamworamet, T. (2009). New Thai dictionary. Bangkok: Ruamsarn.
Morgan G. (1997). Image of Organization. CA: Sage.
Office of the Basic Education Commission. (2011). Planning. Retrieved January 10, 2020, from https://planams.files. wordpress.com/2011/04/strategicplanning.doc.
Office of the National Economic and Social Development Council.(2018). 20-Year National Strategy (2017 – 2036). Retrieved July 15, 2020, from http://www.nesdb.go.th.
Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi. (2012). Strategic planning tecniques. Retrieved March 20, 2020, form www.plan.rmustad.ac.th/plan/data_information /file/4-sl-/35pdf.
Runcharoen, T.(2007) Professionalism in organizing and managing education in the era of educational reform. 4th edition. Bangkok: Kawfang.
Singsuwan, M. (2013). Strategic planning. Songkla: Prince of Songkla University.
Srisaad, B & S.(2011). Principles of preliminary research. 9th edition. Bangkok: Suviriyasarn.
The Teachers Council of Thailand. (2007). The law relating to occupation in education, volume 1. Bangkok: Kawfang. Business Organization of the Office of the Welfare Promotion Commission for teacher and Education Personal.
Vijit, S.(2008). Strategic (Strategies) vs. Tactics (Tactics). Retrieved April 3, 2015, from htttp://samanit.glospot.com.2008/09/blog-post_22html.
Wattana, D. (n.d). Concepts and guidelines for developing strategies. Retrieved August 10, 2021, from http://www.polsci-low.buu.ac.th>document>1.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.