แนวทางการบริหารภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย
คำสำคัญ:
การบริหาร,, หลักธรรมาภิบาล, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบทคัดย่อ
บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันในการบริหารภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาแนวคิดเกี่ยวข้องกับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ให้ข้อมูลสำคัญได้แก่ผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้อง จำนวน 30 คน ใช้วิธีคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้คือแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิเคราะห์เนื้อหาแล้วเขียนบรรยายเชิงพรรณนา
ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันในการบริหารภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทยในภาพรวมยังคงมีการดำเนินการบริหารงานภายให้หลักธรรมาภิบาลทั้ง 6 ด้านอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ 1) นิติธรรม มีการจัดทำบริิการสาธารณะที่คำนึงถึึงหลัักความเสมอภาคมีการให้้บริิการสาธารณะเป็นไปตามความจำเป็นและมีความเท่่าเทียมในท้องถิ่น 2) คุณธรรม โดยรวมมีการยึดมั่่นคุณธรรมจริิยธรรมคนึึงถึึงประโยชน์สุขของประชาชน 3) ความโปรงใส สามารถตรวจสอบได้มีการเผยข้อมูลข่าวสารกับประชาชนให้ทราบ 4) การมีสวนร่วม ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่่วมในการเสนอความคิดเห็นเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาในท้้องถิ่น 5) ความรับผิดชอบ มีเชื่อมั่นความไว้้วางใจตอบสนองกับความคาดหวัังของประชาชนผู้อยู่อาศัยในท้้องถิ่นได้ตามงบประมาณที่มีและตามความสำคัญ และ 6) ความคุมคา มีการคำนึงถึงพันธกิจขององค์กรโดยตอบสนองตามความต้องการของประชาชนมีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้้มค่าและใช้ระยะเวลาที่เหมาะสม องค์ความรู้จากงานวิจัยนี้ทำให้ค้นพบแนวทางเชิงรุก แนวทางเชิงรับ แนวทางป้องกัน และแนวทางเชิงแก้ไข เพื่อช่วยในการบริหารงานภายใต้หลักธรรมาภิบาลอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
References
Ammaddee, W., & Pangthai, S. (2019). Strategic Management by Using of Good GovernancePrinciples of Schools under the Office of Secondary Educational Service Areas, Region20.Journal of MCU Nakhondhat. Vol.6(8), 4106-4118.
Assawakulpriroj N. (2019). Guidelines for development of public participation in administration according to good governance of Rangsit Municipality, Thanyaburi District, Pathumthani Province. Retrieved Jan 19, 2023 from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/RCIM/
Kreainta, E. (2017). The Study of Good Governance of Local Government Organizations Case Study : Maeta Distric Lampang. The 17thGraduate Studies of Northern RajabhatUniversity Network Conference (Proceeding), 1527-1535.
James L. Creighton. (2005). The Public Participation Handbook. References. Barber, B. Strong Democracy: Participatory Politics for a New Age. Berkeley: University of California.
L. Gulick & L. Urwick. (1937). Papers on the Science of Administration (pp. 49–88). New York: Institute of Public Administration.
Office of Good Governance Development and Promotion, & Office of the National Anti-Corruption Commission. (2021). Guidelines for improving good governance for local government organizations. Retrieved Jan 19, 2023 from https://dcstore.phsmun.go.th/test02/
Puang-Ngam, K. (2016). Thai Local Government: Principles and Future Aspects, (9thedition). Bangkok: Winyuchon.
Royal Thai Government Gazette. (2017). Constitution of the Kingdom of Thailand, Buddhist Era. 2017. Retrieved June 5, 2022 from https://www.parliament.go.th/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.