การพัฒนาระบบทรัพยากรมนุษย์ในสถาบันอุดมศึกษา

ผู้แต่ง

  • กัณณ์ศศิชา เนาว์เย็นผล วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • อำนวย บุญรัตนไมตรี วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • ฐิติมา โห้ลำยอง วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • สมคิด ดวงจักร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง

คำสำคัญ:

ทรัพยากรมนุษย์; , การพัฒนาระบบ, สถาบันอุดมศึกษา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ เป็นการพัฒนาระบบทรัพยากรมนุษย์ในสถาบันอุดมศึกษาเป็นการใช้ทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้องค์การบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด ซึ่งการจัดการที่ดีจะช่วยให้มีคนทำงานที่เพียงพอและต่อเนื่อง ได้คนดีมีความสามารถมาทำงาน มีการรักษาบุคลากรให้อยู่กับองค์การโดยมีการพัฒนา การให้ค่าตอบแทนและสวัสดิการ และการประเมินผลที่เหมาะสม ตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคลากร ส่งผลให้สามารถใช้ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างเหมาะสมและทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์ โดยมีกระบวนการจัดการทรัพยากรมนุษย์จะเป็นการดำเนินการตั้งแต่การได้บุคลากรเข้ามาทำงานในองค์การ การดูแลรักษาให้คนทำงานในองค์การได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด และการดูแลการออกจากงานของบุคลากรที่สำคัญ การพัฒนาระบบทรัพยากรมนุษย์ในสถาบันอุดมศึกษา เป็นการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต้องวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อคุณลักษณะของทรัพยากรมนุษย์และมีการจัดการในเรื่องของการได้มา การดูแลรักษา และการออกจากงานของบุคลากรให้สอดคล้องกับสถานการณ์สิ่งแวดล้อม โดยการจัดการทรัพยากรมนุษย์ได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมทั้งระดับมหภาคและจุลภาค รวมทั้งความต้องการของลูกค้าที่มีการเปลี่ยนแปลงไป แนวโน้มการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต้องพยายามพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้สามารถปรับและพัฒนาตนเองได้เพื่อให้ทันกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

References

กานต์ ศรีวิภาสถิตย์.(2560). การบิหารทรัพยากรมนุษย์พ.ศ.2560. กรุงเทพ ฯ : สำนักพัฒนาตำราและสื่อสารทางวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.

ชาญณรงค์ หวังเจริญ. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างอุปนิสัยส่วนบุคคลกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ของพนักงานในบริษัท ไนท์แฟรงค์ชาร์เตอร์(ประเทศไทย) จำกัด. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์. (2557). หลักบริหารพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ ดร.เพชรสำนักพิมพ์.

จิตติมา อัครธิติพงศ์. (2556).การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. พระนครศรีอยุธยา : คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

จินต์จุฑาจันทร์ ประสิทธิ์. (2559).การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบุคลากรทางการศึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

พิชิต เทพวรรณ์. (2554).การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).

วนิดา วงค์สร้างทรัพย์. (2557). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท เอส จี เซ็นเตอร์ จำกัด. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

Drucker. (2009). A Framework for Human Resource Management. Upper Saddle River, N.J.: Pearson/Prentice Hall.

Senge, Edwin B. (1990). Management: A Behavioral Approach. Boston: Allyn & bacon.

Gibson. (2000). Organizations, Behavior, Structure, Processes. New York: McGraw-Hill.

Gilley, J.W. Egg land, S.A. & Maycunich, A.M. (2002). Principle of Human Resource Development. Cambridge, M. A.: Perseus.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-08-2024

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ