การจัดการอารมณ์โกรธของวัยรุ่น

ผู้แต่ง

  • ปัญจรีย์ จุลไกรอานิสงส์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การจัดการ; , อารมณ์โกรธ; , วัยรุ่น

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

          การจัดการอารมณ์โกรธของวัยรุ่นนั้นเป็นสิ่งสำคัญและปัญหาของวัยรุ่นมีมานานตั้งแต่โบราณกาลจนถึงปัจจุบัน แต่ปัจจุบันยุคเปลี่ยนความทันสมัยก็เปลี่ยนไปตามกาลเวลาโดยเฉพาะในยุคปัจจุบันเป็นยุค AI ยุคปัญญาประดิษฐ์หรือยุคโลกไร้พรมแดนการจัดการต่างๆก็ดูเหมือนจะยากขึ้นเพราะวัยรุ่นเป็นวัยที่ได้รับจัดเป็นช่วงวัยที่สำคัญค่อนข้างมากเพราะเป็นวัยของหัวเลี้ยวหัวต่อระหว่างวัยเด็กก้าวไปสู่วัยผู้ใหญ่มีพัฒนาการทางด้านร่างกายอารมณ์สังคมจิตใจและสติปัญญาเป็นระยะที่ต้องมีการปรับตัวเปลี่ยนแปลงหลายด้านอาจนำไปสู่ปัญหาด้านอารมณ์รุนแรง หงุดหงิดง่าย โกรธง่าย เป็นต้นจึงมีแนวโน้มเกิดสภาวะอารมณ์ซึ่งเป็นปฏิกิริยาโต้ตอบกับความโกรธได้ง่ายซึ่งอารมณ์เหล่านี้เป็นปัจจัยหนึ่งที่นำไปสู่พฤติกรรมก้าวร้าวและปัญหาที่ตามมา

          การจัดการความโกรธตามหลักการของจิตวิทยาเริ่มจาการรู้ตัว และอาจจะไม่รู้ตัวการจัดการกับความโกรธ เช่น การรู้ว่าอะไรคือตัวกระตุ้น และจัดการกับตัวกระตุ้นนั้นอย่างไร  (Stimulus Change) ทั้งการผ่อนคลาย  (Relaxation technique)  การปรับความคิด  การคิดเพื่อลดหรือบรรเทาความโกรธ

          การจัดการความโกรธในชีวิตประจำวันตามแนวพุทธธรรม ได้แก่ สติ ขันติ และเมตตา ประกอบด้วยโยนิโสมนสิการ โดยมีกระบวนการคือ เมื่อความโกรธปรากฏ ให้มีสติระลึกรู้ว่าเรากำลังโกรธแล้วพิจารณา (โยนิโสมนสิการ) ถึงผลดีผลเสียของความโกรธ ใช้ขันติ คือการที่จะไม่โกรธ หรือพยายามไม่โกรธ ใช้เมตตา คือ ความคิดในทางปรารถนาดีต่อผู้ที่ทำให้เราโกรธ เมื่อทำได้เช่นนี้ความโกรธจะสงบลงหรือระงับได้ชั่วคราว การปฏิบัติอบรมสติ เป็นหนทางควบคุม บรรเทา และกำจัดความโกรธได้ ถึงแม้ยังกำจัดความโกรธไม่ได้อย่างสิ้นเชิง แต่อย่างน้อยก็สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุขและทุกข์น้อยลง

References

Department of Juvenile Observation and Protection. (2015). Treatment of violent children and

youth with techniques CBT (Cognitive Behavioral Therapy). Bangkok: Chulalongkorn

University Academic Service Center.

Dusek, B.J. (1987). Adolescent Development and Behavior. New Jersy: Prentice-Hall.

Kanchanachitakorn, S., (2022). Erik Erikson's Psychosocial Theory. Online. Source: https://www.youdee.redcross.or.th/post/ทฤษฎีจิตสังคมของ-erik-erikson.

Krobsorn, J., (2012). “Stress and Coping Behaviors of Adolescents in the Juvenile Detention and Protection Center”. Master of Nursing Thesis. Pediatric Nursing Program Burapha University.

Pengsathit, U., (1996). Developmental Psychology. Third Edition. Bangkok: Ramkhamhaeng University Press.

Phra Dhammapitaka (P.A. Payutto). (2008). Buddhist dictionary Vocabulary edition. Bangkok:

Chulalongkorn University.

Phra Phrom Kunaporn (P.A. Payutto). (2008). Enlarged version of Buddhadharma. 11th edition. Bangkok: Chulalongkorn University.

Phra Phrom Kunaporn (P.A. Payutto). (2010). Buddhist dictionary Dharma edition. 18th edition. Nonthaburi: Permsap Printing House.

Phra Phrom Kunaporn (P.A. Payutto). (2010). Buddhist dictionary Vocabulary edition. 15th edition. Bangkok: Sahathamik Printing House Co., Ltd.

Phra Phrom Kunaporn (P.A. Payutto). (2012). Enlarged version of Buddhadharma. 32th edition. Bangkok: Publishing House.

Phra Thammakittiwong (Thongdee Suratecho). (2008). Dictionary for the study of Buddhism “Kham Wat”. Bangkok: Thammasapa.

Phramaha Prasert Akkatecho (Mukprim). (2016). "A Guideline for the Application of Peaceful Dhamma Principles to Enhance the Peace of Youth in Schools: A Case Study of Rajamontri School (Pluem-Cheamnukun)". Master's Degree Thesis in Peace Studies. Mahachulalongkornrajavidyalaya University.

Ruangtrakul, S., (2004). Stress and Psychiatric Symptoms. Bangkok: Rueankaew Printing House.

Sucha Chan-Em. (1999). General Psychology. 12th edition, Bangkok: Thai Wattana Panich Publishing House.

Sukcharoen, S., (2010). The Effect of Group Counseling on Anger Coping of Adolescents. Master of Education Degree in Guidance and Counseling Psychology. Srinakharinwirot University

Tripati, S., (2018). “Development and adjustment in adolescence”. Online. Source: http://www.nicfd.cf.mahidol.ac.th/th/images/documents/3.pdf.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2024

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ