ภาพลักษณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2
คำสำคัญ:
ภาพลักษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา, แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู, ประถมศึกษาบทคัดย่อ
การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาภาพลักษณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 2) เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาภาพลักษณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 จำนวน 67 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลคือ ครูผู้สอนจำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้น 354 คน ประจำปีการศึกษา 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ หาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์สถิติสำเร็จรูป
ผลการวิจัยพบว่า
1) ภาพลักษณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน
2) ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน
3) ภาพลักษณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ได้แก่ ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านภาวะผู้นำ และด้านความรู้และความสามารถ 42.50 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 และค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นจากการพยากรณ์เท่ากับ 0.224 ถึง 0.59
References
Kaewdang Rung. (1998). A Study of characteristics of Basic School Administrators on Koh Mueang Phra Nakhon Si Ayutthaya during the next 5 years (B.E.2546-2550). Resource Center Phra Nakhon Si Ayutthaya Rajabhat University
Santiwong Thongchai. (2003). Human Resource Management.11th edition Bangkok : Meeting Chang.
Ransanoi Wilailak. (2000). Image of secondary school teachers. Under the Department of General Education Ministry of Education. Thesis in Educational Administration Burapha University.
Chaichansukkit Poj. (2010). Strategies for creating an executive image by managing communication and Public relations. Bangkok : Base Media Network.
Petchthai Natcha. (2010). Presentation of the image of leadership. And stories of senior executives CEO in the pocket book. Master of Communication Arts Thesis Chulalongkorn University.
Mathura Thidawal. (2010). The image of school administrators according to the perspective of teachers in higher education institutions Under the jurisdiction of Surat Thani Primary Education Service Area Office, Area 2 thesis Education Administration Surat Thani Rajabhat University.
Khammak Kanda. (2012) Motivation Affecting Performance Efficency of Employees in parts industy electronic in Nakhon Ratchaima Province. Faculty of Business Administration University Technology Rajamangala Isan.
Department of Mental Health. (2020) Mental rehabilitation plan in the situation of the outbreak of the Coronavirus Disease 2019.
Kingkaew Chiewsat. (2018). Characteristics of school Administrators Affecting Teachers Morale in Performance Chachoengsao Primary Education Service Area Office 1. Master of Education Thesis Department of Educational Administration, Rajannagarindra Rajabhat University.
Srinarong Pranee. (2019). Image, strategic point of success. Me magazine Magazine.
Policy and Plan Group Pathum Thani Primary Educatinal Service Area Office 2. (2020). Action Plan for fiscal Year 2021. Retrieved November 1, 2021
Fang Yang. (2011).Work, motivation and personal characteristics: an in-depth study of six organizations in Ningbo. New Jersy: Prentice-Hall.
Wagner,B.D. “Motivation and professional growth in early childhood teacher. Ph.D.dissertation, University of Rochester, 2006.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.