การประเมินผลของการนำนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราไปปฏิบัติ

ผู้แต่ง

  • สนอง ทองมา
  • สืบพงศ์ สุขสม มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น

คำสำคัญ:

การประเมินผล, เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก, นโยบาย

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการนำนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราไปปฏิบัติ 2) ศึกษาปัจจัยตัวชี้วัดความสำเร็จของการนำนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราไปปฏิบัติ 3) เสนอประสิทธิผลการนำนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราไปปฏิบัติ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ทำการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มหน่วยงานภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ  10 คน กลุ่มหน่วยงานภาคเอกชน 10 คน และกลุ่มตัวแทนภาคประชาชน รวม 30 คน ทำการวิเคราะห์เนื้อหาและนำเสนอข้อมูลด้วยวิธีการพรรณนา

ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า 1) สภาพการนำนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราไปปฏิบัติ ด้านถนน ด้านการรถไฟ ด้านการไฟฟ้า ด้านการประปาและด้านการสื่อสารโทรคมนาคม ส่วนใหญ่เป็นไปตามแผนที่คาดไว้ 2) ปัจจัยตัวชี้วัดความสำเร็จของการนำนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราไปปฏิบัติ ด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ตรงตามเป้าหมายของการดำเนินงานที่ชัดเจน ตั้งแต่เป้าหมายระดับประเทศ เชื่อมโยงกับเป้าหมายระดับพื้นที่ EEC ถ่ายลงสู่เป้าหมายระดับจังหวัด และ 3) การนำนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราไปปฏิบัติ มีประสิทธิผลเป็นไปตามเป้าหมายที่คาดไว้

ในส่วนข้อเสนอแนะควรการเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและภาคประชาชน มีส่วนร่วมในการคิด วางแผนและการตัดสินใจร่วมกัน จะทำให้เป้าหมายนั้นได้มาจากการร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน เกิดการบูรณาร่วมกันอย่างแท้จริง

References

Suthisamphan, K., (2018).Story Developing border trade to support the country's special economic zones.

Dokthaisong, B., (2010). Scope of public administration in the era of globalization. Bangkok: Intellectual.

Worapatthirakul, P.. (2017). Management of the Thai public sector under the welfare state system. Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University. 4(1),

Paingam, S., (2017) on the Dawei Special Economic Zone in relations between Thailand with the Republic of the Union of Myanmar

Deedecha, S., (2018) on the achievements of the development of the Mae Sot Special Economic Zone. (Accomplishment of Development of The Mae Sot Special Economic Zone)

Mungmuang, S and Thianchutinan, P., (2019). Public policy to develop the quality of life of low-income people through state welfare cards. Mahachula Academic Journal. 6(2),

Suksom, S., (2018). Water traffic in Bangkok. Suvarnabhumi Institute of Technology Academic Journal. 4(1),

Office of the Eastern Special Development Zone Policy Committee, November (2018)

Overview Plan for the Development of the Eastern Special Development Zone (2017-2022) Changes in the “Weight” of the World Economy: Emerging Economies in Asia

Lamphun Provincial Office (2020) Strategy and Information for Provincial Development Group reports on research on monitoring and evaluating the Lamphun Provincial Development Plan. (2018-2022) for fiscal year 2020

Ratchatakorn,S., and Jittrutha, C., (2021) Subject: Assessment of the impact of trade and investment policies in border areas: a case study of the checkpoint area of Chiang Saen District. Mae Sai District Checkpoint and Chiang Khong District Checkpoint Chiang Rai Province

Mesincee, S., the world changes, Thailand adjusts. Bangkok: Krungthep Turakij, (2013) Krungthep Turakij Publishing, Krungthep Turakij Media Company Limited.

Azadeh Rooholamini et.,al. (2017) conducted a study on curriculum evaluation. medical science Basic in Shiraz Medical School

Jati Aurum Asfaroha, Dadan Rosanaa and Supahara (2017) A study was conducted on Development of a learning management model for scientific projects

Stufflebeam, D. L., & Shinkfield, A. J. (2007). Handbook of Research on Assessment Technologies, Methods, and Applications in Higher Education. New York: Longman.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2023

ฉบับ

บท

บทความวิจัย