ผลการใช้กิจกรรมการบริหารสมองเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาจิตวิทยาสำหรับครู สำหรับนักศึกษาครู ชั้นปีที่ 1

ผู้แต่ง

  • ธันยนันท์ ทองบุญตา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

คำสำคัญ:

การจัดการความรู้; , การพัฒนา; , เทศบาลตำบลบางเสร่,

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ พื้นที่วิจัย คือ เทศบาลตำบลบางเสร่ อำเภอสัตหีบ  จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรที่เป็นบุคลากรของตำบลบางเสร่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี จำนวน 185 คน โดยใช้ประชากรทั้งหมดเป็นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 

ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคลต่อการจัดการความรู้ในการพัฒนาเทศบาลตำบลบางเสร่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน  130  คน คิดเป็นร้อยละ  70.27  และเพศหญิง จำนวน  55 คน คิดเป็นร้อยละ 29.73 มีอายุระหว่าง 41 – 50  ปี จำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 36.21 มีระดับการศึกษาปริญญาตรี จำนวน  97 คน  คิดเป็นร้อยละ 52.43  และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่ำ10,001 – 20,000 บาท จำนวน 83 คน  คิดเป็นร้อยละ 44.86 2) การจัดการความรู้ในการพัฒนาเทศบาลตำบลบางเสร่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี  โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากทุกข้อ เรียงลำดับจากมากไปน้อยใน 3 อันดับแรกได้ ดังนี้ ด้านการพัฒนา อยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ ด้านการศึกษา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการฝึกอบรม

References

Association of Personnel Managers of Thailand. (2014). Organizational development. (Organization Development). Bangkok: Human Resources Managers Association of Thailand.

Bunyakij, B., et al. (2004). Knowledge management. Theory into practice. Bangkok : Jirawat Express.

Chantarot, P., and Haribin, Y., (2022). Knowledge management guidelines for excellence in public sector procurement operations of Phang Nga Municipality. In the 7th National and 4th International Academic Conference on Thepsatri Academic Management Science, 26 – 27 May 2022 (pp. 546-559). Lopburi: Faculty of Management Science. Thepsatri Rajabhat University.

Kochikar, V. P. (2004). Towards a Knowledge Sharing Organization: Some Challenges Faced on the Infosys Journey, in M. Rao (ed.) Annals of Cases on Information Technology, Vol. 6(c), Hershey, PA: Idea Group Inc., pp. 244–258.

Lee, J. M., et al. (2009). Short Stature in a Population-Based Cohort Social, Emotional, and Behavioral Functioning. Pediatrics, 124, 903-910.

Madbenman, W., (2019). Development of knowledge management guidelines of Hat Yai University using KMMM. Master of Engineering degree thesis. Industrial Management major Prince of Songkla University.

Nimpanich, J., (2011). Putting policy into practice. Perspectives in political science, politics, and public administration. and Thai case studies. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Senge, P. M. (1990). The Fifth discipline : The Art and Practice of the Learning Organization. London : Century Press.

Senge, P. M. (2006). The Fifth Discipline: The Art and Practice of the Learning Organization. New York : Currency Doubleday.

Suwanthamma, S., (2020). Guidelines for developing local personnel: Case study of Nonthaburi Municipality. Nonthaburi Province. Independent Study Master of Public Administration Ramkhamhaeng University.

Warintharawet, N., (2019). Personnel development in the area of specialization for municipal employees: A case study of Bang Kruai Municipality Office. Nonthaburi Province. Independent Study Master of Public Administration Ramkhamhaeng University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2024

ฉบับ

บท

บทความวิจัย