การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผู้แต่ง

  • มัลลิกา คงพันธุ์ -
  • นภาภรณ์ ธัญญา มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น

คำสำคัญ:

รูปแบบการเรียนการสอน, ทักษะการอ่านจับใจความ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย  และ 2) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ขั้นตอนการวิจัยประกอบด้วย  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนหัวไผ่วิทยาคมจำนวน  33 คน ซึ่งกำลังศึกษาในโรงเรียนหัวไผ่วิทยาคม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 33 คนซึ่งได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านจับใจความ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) คู่มือการใช้รูปแบบการเรียนการสอน 4) แบบทดสอบวัดทักษะการอ่านจับใจความ 5) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการใช้รูปแบบการเรียนการสอน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกณฑ์ประสิทธิภาพ และการทดสอบ ค่าที (t-test)

 

            ผลการวิจับพบว่า

  1. ได้รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่นจับจความ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มี 7 องค์ประกอบ คือ ขั้นสร้างแรงจูงใจ ขั้นสร้างความกระตือรือร้น ขั้นการเรียนรู้ขั้นสอนเนื้อหา ขั้นประเมินผลเพื่อปรับปรุง ขั้นรวบรวมสร้างองค์ความรู้  ขั้นนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
  2. ประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านจับใจ ความภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยนำรูปแบบที่ปรับปรุงแล้ว ไปหาประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 83.45/82.00 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือ 80/80
  3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 อยู่ในระดับมากที่สุด

References

Kannika Kananan. (2008). Development of instructional activities using metacognition strategies to enhance reading comprehension ability. Metacognition and Attitudes towards Activity Learning and teaching of students in grade 3. Master of Education thesis Curriculum and Teaching Udon Thani Rajabhat University

Ministry of Education, Department of Academic Affairs (2001). Basic Education Curriculum 2001. Bangkok: Academic Quality Development

Mariam Nilapan. (2010). Educational Research Methods. (5th edition). Nakhon Pathom: Silpakorn University Printing House.

Rewadee Hiran. (1996). Concepts and techniques for teaching English at the secondary level. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Office of the Basic Education Commission (2009) Report on the synthesis of concepts and methods for teaching and learning that promote critical thinking skills. Group learning Thai language. Bangkok : Agricultural Cooperative Assembly of Thailand Printing House.

National Basic Testing Bureau. (2018). Report on the results of the Basic National Educational Test (O-NET) for the academic year 2018. Bangkok.

Sunee Sanmuek. (2009). Problems in reading. Source: http://www.gotoknow.org/, 2 December 2019. (Online).

Sunanta Mansetthawit. (2001) Principles and methods for teaching reading Thai language. Bangkok : Thai Wattana Panich Publishing Co., Ltd.

Ampaipan Suansorn (2016:2) Development of English Reading Comprehension Practice for Mathayomsuksa 3 Students in Master of Education Thesis, Research and Evaluation Program, Graduate School, Chiang Mai University.

Andersion, G.L. (1999). “Toward Authentic Participation : Deconstructing the Discourses of Participatory Reforms in Education,” American Educational Research Joumal. 35(4) : 571–603.

Dick, W and Carey, L. 2005. The system design of Instruction.

IL : Foresman Dubin, Fraida and Elite Olshtain. (1991) Course Design Developing Program and Materials for Language Learning Fitthprinting. Cambridge University Press.

Esky, David E. (1970). Theoretical Foundations, in Teaching Secondary Language. P.3-23. Reading for Academic Purpose. Massachusetts: Addison–Wesley.

Joyce, B & Weil, M. (2009). Models of teaching. 2 nd ed. New Delhi :Prentice–Hall

Kruse, K. (2009). Introduction to instructional design and the ADDIE model, Retrieved October 30 (date), from http://www,e-earningguru.com/articles/art2_1.htm

Rumelhart, D.E.,and Norman, D.A. 1981.“Analogical Processes in Learning. In J.R”, Anderson (ed.) . Cognitive Skills and their Acquisition. pp. 335-359.

Hillsdale, New Jersey : Erlbaum.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2023

ฉบับ

บท

บทความวิจัย