บทบาทผู้ปฏิบัติหน้าที่ติดตามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน

ผู้แต่ง

  • ศรุดา สมพอง
  • ปิ่นอนงค์ ชัยแก้ว -

คำสำคัญ:

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, , ผู้ปฏิบัติหน้าที่ติดตามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, การบริการสาธารณะ แนวใหม่ (NPS)

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอ บทบาทผู้ปฏิบัติหน้าที่ติดตามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตั้งแต่         ปีพ.ศ. 2554–ปัจจุบัน  โดยใช้กรอบการศึกษาตามแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ ประกอบกับการศึกษาระเบียบรัฐสภา ว่าด้วยการแต่งตั้งบุคคลเพื่อปฏิบัติหน้าที่อันเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554 และที่เพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2556 พบว่าบทบาทของผู้ปฏิบัติหน้าที่ติดตามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย และบริบททางการเมือง ปัจจุบันมีการปรับปรุงระเบียบและแนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจน การอบรมให้ความรู้จากหน่วยงานที่รับผิดชอบ ช่วยให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ติดตามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีความเข้าใจในการปฏิบัติงาน การนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การประยุกต์ใช้เพื่อช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงานให้อย่างรวดเร็ว ทำให้ผู้ช่วยดำเนินงานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ตามเจตนารมณ์ที่รัฐสภากำหนดไว้

References

Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2560. (2017). (6 April 2017). Government Gazette. Volume 134, Chapter 40, Pages 1-90.

Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2560. (2017). and Amendments (No. 1) (21 November 2021). Government Gazette. Volume 138, Chapter 76 A, pages 1-4.

Cooper, T. L. (1991). An ethic of citizenship for public administration. New Jersey: Prentice Hall.

Denhardt, R. B., Denhardt, J. V. (2003). The new public service: An approach to reform. International Review of Public Administration.

Denhardt, Janet V., Denhardt, Robert. B. (2007). The New PublicServices (Expanded Edition): ServingnotSteering. Armonk, New York: M.E.Sharpe.

Parliament. (2011). parliamentary regulations on the appointment of persons to perform duties which will be beneficial to the performance of the National Assembly House of Representatives senator Member of the House of Representatives Members of the Senate and Commissioners of the House of Representatives or the Senate, 2011, and amendments No. (2) 2012, No. (3) 2013.

Kangsanan, K. (2003). Values and analysis of public policy. Journal of the King Prajadhipok's Institute, Year 1, Issue 2 (2003), pages 45-56. Retrieved on February 2, 2022, from: https://kpi-lib.com/library/en/books/kpibook-5801/

Maesschalck, J. (2004). The impact of new public management reforms on public servants’ ethics: Towards a theory. Public administration.

Ruscio, K. P. (1994). Policy cultures: The case of science policy in the United States. Science, technology, & human values, 19(2), 205-222.

Sompong, S. (2020). Characteristics of those performing duties in accompanying members of

the House of Representatives towards Perform excellent work. Office of the Secretariat of the House of Representatives. Retrieved on February 2, 2022, from https://dl.parliament.go.th/backoffice/viewer2300/web/previewer.php.

Wattanasin, C. (2013). Efficiency of management. Bangkok: Pimluck.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2023

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ