การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ภายใต้ความปกติใหม่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

ผู้แต่ง

  • ภูมิภควัธจ์ ภูมพงศ์คชศร -
  • ชัยณรงค์ สิริพรปรีดา หฤทัย สมศักดิ์ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • ประภาส จันทร์โคตร โรงเรียนเทพศิรินทร์ สมุทรปราการ

คำสำคัญ:

การพัฒนาภาวะผู้นำ, การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์, ความปกติใหม่

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ภายใต้ความปกติใหม่ 2) เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ภายใต้ความปกติใหม่ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) เพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ภายใต้ความปกติใหม่ เป็นการการค้นคว้าเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพแบบเจาะจง

          ผลการศึกษาพบว่า 1) การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ภายใต้ความปกติใหม่ พบว่า ด้านการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก  มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.54 เมื่อจำแนกเป็นรายข้อแล้ว พบว่า กำหนดเป้าหมายของการเปิดโอกาสในการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.89 รองลงมา  กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบด้วยความซื่อสัตย์และเปิดรับข่าวสาร อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.87 2) เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ภายใต้ความปกติใหม่ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ผู้บริหารที่มีตำแหน่งและมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ภายใต้ความปกติใหม่ 3) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ภายใต้ความปกติใหม่ พบว่า ผู้บริหารต้องการที่จะกำหนดเป้าหมายของการเปิดโอกาสในการเรียนรู้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ได้รับด้านการรับรู้ ความเข้าใจ การคิดรวบยอดและการคิดอย่างมีกลยุทธ์ต้องมีการปฏิบัติโดยผู้บริหารโรงเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ มีวิสัยทัศน์ทัศน์การคิดที่เหนือกว่าผู้อื่น

References

Kahintapongs, S. (2020). Renewable Energy Policy Development in Thailand. International Journal of Multidisciplinary in Management and Tourism, 4(2), 148-155

Klaasak Jitsanguan. (2012). “Strategic Leadership Development Model for High School Administrators”.Ph.D. thesis. Education Administration Faculty of Education. Graduate School:Chulalongkorn University.

Mantana Kongngern. (2011). “Strategic Leadership and Conflict Management of Executives in Educational Institutions.Foundation under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 1”. Master of Education. Education Administration Faculty of Education. Graduate School:Silpakorn University.

Nonthapong Kwaikrue 2013. Strategic Leadership in the 21st Century. Journal of the Graduate School of Suan Dusit University. 15 (2), 219-231

Nuanchan Junthonp. (2016). A Study of Strategic Leadership Roles of Educational Institution Administrators. Under the municipality in Chanthaburi, Rayong and Trat provinces. Master's thesis. Department of Educational Administration Rambhai Barni Rajabhat University.

Patcharee Chamnansil et al. (2015). Development of Buddhist leadership of administrators of district vocational colleges.Lower North. Journal of the University of Social Sciences Perspective. 4 (3), 75-90

Phrakhrupalad Boonchuay Jotivamso and Sunthon Saikham . (2021). Leadership Development Based on iv Iddhipada-Dhammas of Basic Education SchoolAdministrator Under honkaen Primary Educational Service Area Office 2. Journal of Modern Learning Development.Vol. 6 No. 2 March - April 2021

Suwit Kruekkratok. (2011). The linear structure relationship of strategic leadership of educational institution administrators. towards basic educational outcomes in the Northeast. Education Journal Sakon Nakhon Rajabhat University, 23(1), 216–226.

Tamakorn Bunkie (2020), A Study of Strategic Leadership Roles of Educational Institution Administrators under the office Trat Primary Education Area. Thesis, M.A., Rambhai Barni Rajabhat University

Worawat Thiamsuwan et al. (2019). Strategic Leadership in the 21st Century. Journal of the Graduate SchoolSuan Dusit University College. 15 (2), 219-231

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2023

ฉบับ

บท

บทความวิจัย