รูปแบบการดำเนินงานด้านการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพรูปแบบปกติวิถีใหม่ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพร้าว

ผู้แต่ง

  • ณภัทรภพ ทองรื่น -
  • เด่น ชะเนติยัง

คำสำคัญ:

รูปแบบ; การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ; รูปแบบปกติวิถีใหม่; ศูนย์การศึกษานอกระบบ;การศึกษาตามอัธยาศัย

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานด้านการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพรูปแบบปกติวิถีใหม่ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพร้าว 2) เพื่อประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบการพัฒนาการดำเนินงานด้านการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพรูปแบบปกติวิถีใหม่ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพร้าว เป็นการดำเนินการแบบวิจัยและพัฒนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 50 เขต เป็นผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 120 คน ใช้แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษาเก็บข้อมูลจำนวน 3 ครั้ง โดยใช้เทคนิคเดลฟาย การเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มแบบ
บอลหิมะ โดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 21 คน โดยวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน, ค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยควอไทล์

ผลการวิจัยพบว่า

1) การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานด้านการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพรูปแบบปกติวิถีใหม่ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพร้าว มี 6 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ด้านการบริหาร ด้านหลักสูตร ด้านการเรียนการสอน ด้านการใช้แหล่งเรียนรู้ ด้านการจัดบรรยากาศของสถานที่ และด้านการวัดและประเมินผล 2) ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ พบว่า ด้านหลักสูตร ด้านการใช้แหล่งเรียนรู้ และด้านการวัดและประเมินผล มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ “มากที่สุด” รองลงมาได้แก่ ด้านการเรียนการสอน และการจัดบรรยากาศของสถานที่ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ “มาก” และสุดท้าย ด้านการบริหาร มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ “ปานกลาง”  

References

กรมวิชาการ.(2555).การวิเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ.

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว

กระทรวงศึกษาธิการ (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.

และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุ

ภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

กระทรวงศึกษาธิการ.(2560).หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พิมพ์ครั้งที่ 3.

กรุงเทพมหานครฯ : โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.

กาญจนา คุณารักษ์.(2558) การออกแบบการเรียนการสอน.พิมพ์ครั้งที่ 5.โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร

วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์. นครปฐม.

เกริก ท่วมกลาง และ จินตนา ท่วมกลาง. (2555). การพัฒนาสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา กรุงเทพมหานคร:

เยลโล่การพิมพ์.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2559). อนาคตใหม่ของการศึกษาไทยในยุค Thailand 4.0. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ กรุงเทพฯ.

จิตรา วงศ์บุญสิน. (2549).ออกแบบลูกรักด้วยวิธีเลี้ยง. บริษัทออลสเต็ป ฟอร์เวอร์ด จำกัด. 2549 กรุงเทพฯ :

ชมลักษณ์ อุ่นศิริ.(2559) บทความวิจัยการพัฒนาแบบฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยเทคนิคหมวก

หกใบ เรื่อง กฎหมายอาญา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล 2 วัดปราสาททอง

จังหวัดสุพรรณบุรี.วารสารบริหารการศึกษา ฉบับที่ 1 (2016) กรกฎาคม-ธันวาคม 2559. มหาวิทยาลัย

ศิลปากร.นครปฐม.

ไชยยศ เรืองสุวรรณ(2553).การออกแบบพัฒนาโปรแกรมบทเรียนและบทเรียนบนเว็บ.(พิมพ์ครั้งที่ 15).

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ทิศนา แขมมณี (2556). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.

สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.กรุงเทพฯ.

ดวงจันทร์ วรคามินและคณะ.(2559). การศึกษาการศึกษาความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์และการมีจิต

สาธารณะเพื่อพัฒนาศักยภาพการเป็นคนดีคนเก่งของนักเรียนไทย.กรุงเทพมหานครฯ : สสวท.

บริสุทธิ์ธรรม พิมพ์ศิริ. (2561). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivism เพื่อส่งเสริม

ความสามารถทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา.ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต : สาขาวิชา

หลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. นครปฐม.

บังอร รัตนมณี และกันยา เจริญศักดิ์. (2553) ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่องานบริการการศึกษาวิทยาลัย

เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.กรุงเทพมหานคร.

ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด. : ห้างหุ้นส่วนจำกัด 9119 เทคนิค พริ้นติ้ง. กรุงเทพฯ.

พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2553). การวิเคราะห์การศึกษาเชิงวิพากษ์: พื้นฐานการศึกษาประเด็นวิกฤตทาง

การศึกษา. กรุงเทพฯ: ไทยสัมพันธ์.

มารุต พัฒผล และวิชัย วงษ์ใหญ่. (2562).การถอดบทเรียนเพื่อการเปลี่ยนแปลง.ศูนย์ผู้นำนวัตกรรม

หลักสูตรและการเรียนรู้.บัณฑิตวิทยาลัย.มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2559). รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก

สถานศึกษารอบสาม (2554-2558) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. โรงพิมพ์พญาไทย : กรุงเทพฯ

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2563) สภาวะการศึกษาไทย 2561/2562 การ

ปฏิรูปการศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ : บริษัทภาพพิมพ์จำกัด.

อารยา ช่ออังชัญ.(2553).การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหา

อย่างมีวิจารณญาณกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.ดุษฎีนิพนธ์.

สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Andersion, G.L. (1999). “Toward Authentic Participation : Deconstructing the

Discourses of Participatory Reforms in Education,” American Educational

Research Joumal. 35(4) : 571–603.

Bruner, J. (1963) The process of Education. New York: Alfred A. Knopf, Inc. and Random Hous

Cresswell and Plano Clark.V.L. (2007) . Designing and Conducting Mixed Methods

Research. United States of America: Sage Publications, Inc.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2022

ฉบับ

บท

บทความวิจัย