วิวัฒนาการ รัฐประศาสนศาสตร์ จากอดีตสู่ปัจจุบัน

ผู้แต่ง

  • สุเทพ เฮงจินดา นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

Keywords : Evolution , Public Administration

บทคัดย่อ

รัฐประศาสนศาสตร์เป็นวิชาเก่าที่มีมาแต่โบราณกาล ตั้งแต่สมัยโบราณของ อียิปต์  อินเดีย จีน อาณาจักรโรมัน ดังจะเห็นได้จากปรัชญาการเมืองของขงจื๊อ เล่าจื๊อ เกาฎิลยะ เพลโตหรืออริสโตเติล มีสาระของรัฐประศาสนศาสตร์อยู่ไม่น้อย แต่ในสมัยนั้นยังไม่มีการรวบรวมองค์ความรู้อย่างเป็นระบบจึงไม่อาจเรียกได้ว่าความรู้เหล่านั้นคือรัฐประศาสนศาสตร์โดยเหตุนี้องค์ความรู้ของรัฐประศาสนสตร์ที่ถือเป็นจุดเริ่มต้นก็คือ  เมื่อวูดโรว์  วิลสัน ได้เขียนบทความที่ชื่อ The Study of Administration  ในปี ค.ศ.1887 ก็คือ  ยุคของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ดั้งเดิม

           ถือเป็นจุดเริ่มต้นและได้มีวิวัฒนาการจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ดั้งเดิม  สู่ แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่  และพัฒนามาถึง  แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่    และ  แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่    โดยในแต่ละยุคก็จะมีวิวัฒนาการในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยการเสนอตัวแบบและทฤษฎี เพื่อใช้แก้ไขปัญหาในการบริหารงานภาครัฐ ให้ตอบโจทย์ที่สุดในขณะนั้น 

References

Tin Prachayaprut.(1992:1). Comparative Public Administration: Tools for Country Management. 2nd Edition. Bangkok: Chulalongkorn University

Pittaya Bawonwattana.(2012). Theory and Study Guideline of Public Administration (1887 - 1970). 17th Edition. Bangkok: Chulalongkorn University

Soitrakul (Tiwayanon) Atamana.(1997). Public Administration Science. 3rd Edition. Bangkok: Thammasat University

Wichian Wittayaudom. (2008). The Concept of Public Administration and The Theory of Bureaucracy. Bangkok: Theera Film & Scitex

Ruangwit Ketsuwan. (2010). Introduction to Public Administration. Bangkok: Borpit Printing

Uthai Laohawichian. (2003). Public Administration: Characteristics and Dimensions.12th Edition. ก Bangkok: Sema Dharma

Thosaporn Sirisamphan. (2010). Performance Management – Collection of Academic Articles for 100 years anniversary of Thai Public Administration. Department of Public Administration, Faculty of Political Science, Chulalongkorn University

National Statistical Office. (2018). Annual Statistics. retrieved from http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/News/2561/N21-09-61-1.aspx.2561

Phra Suthep Hengjinda. (2020). Buddhist strategies adopted by country leaders in the country administrationA case study of M.R. Kukrit Pramoj and Mr. Anand Panyarachun. Dissertation, Doctor of Philosophy Program in Public Administration, Institute of Public Administration and Public Policy, Rangsit University

Dwight Waldo. (1955). The Study of Public Administration. New York.

Max Weber. (1947). The Theory of Social and Economic Organizations. Translated by A.M. Handerson and T. Parsons. New York : Free Press

Hood Christopher. (1991). “A Public Management for All Season”.Public Administration, .Vol.69.Blackwell Publishing :3-19.

Robert B. Denhardt and Janet Vinzant Denhardt. (2007). The New Public Service : Serving, Not Steering. M.E. Sharpe, Inc., New York.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

28-02-2023

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ