การพัฒนากลยุทธ์ในการสร้างประสิทธิผลการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและคุณภาพของข้อมูลข่าวสารของประชาชนจากเทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศ (ICT) รูปแบบใหม่ที่มีผลต่อความมั่นคงของรัฐและการเสริมสร้างธรรมาภิบาลในเขตพื้นที่จังหวัดอุดรธานี

ผู้แต่ง

  • สุดาภรณ์ กิจกุลนำชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
  • ปุริมปรัชญ์ อำพัน มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

คำสำคัญ:

เทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศ; , ความมั่นคงของรัฐ; , ธรรมาภิบาล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินระดับจากการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและคุณภาพของข้อมูลข่าวสาร 2) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและคุณภาพของข้อมูลข่าวสารของประชาชน และ3) เสนอแนวทางการเสริมสร้างการพัฒนากลยุทธ์ในการสร้างประสิทธิผลการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและคุณภาพของข้อมูลข่าวสารของประชาชนจากเทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศ (ICT) รูปแบบใหม่ที่มีผลต่อความมั่นคงของรัฐและการเสริมสร้างธรรมาภิบาล ในเขตพื้นที่จังหวัดอุดรธานี เป็นงานวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างที่ จำนวน 351 คน ใช้การสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติทีใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน T-test  และ One - Way ANOVA  และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 6 คน  ใช้การสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้คือแบบสัมภาษณ์ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาเชิงตรรกะ

ผลการวิจัยพบว่า  1) การประเมินระดับการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและคุณภาพของข้อมูลข่าวสารของประชาชน โดยภาพรวม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (= 3.70, S.D.=.75) อาชีพและระยะเวลาในการอาศัย มีความเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ .05 2) ปัจจัยที่ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและคุณภาพของข้อมูลข่าวสาร คือ ข่าวสาร คือ (1) ข่าวสาร หรือ ประเด็นการเมือง (2) ด้านข่าว/ผู้ทำข่าว (3) ผู้สื่อข่าว (4) ผู้เสพข่าว (5) เทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศ (ICT) 3) แนวทางการเสริมสร้างการพัฒนากลยุทธ์ในการสร้างประสิทธิผลการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและคุณภาพของข้อมูลข่าวสารควรมีวิธีการ ดังนี้คือ (1) การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลข่าวสาร จากหลากหลายแหล่งที่มา (2) ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของผู้ที่ให้ข่าวมา ผู้นำเสนอ จะต้องมีความเป็นกลางและตรวจสอบจนมั่นใจแล้ว ก็จึงจะเผยแพร่ข้อมูลต่อไป อาจจะต้องใช้เวลาจำกัด รวดเร็ว ต้องทันกับเหตุการณ์ เพื่อเป็นประโยชน์และสร้างความรู้สร้าง ความสงบเรียบร้อยให้กับสังคมต่อไป

References

Best, J. W. (1978). The Tools of Research in Education 3rd ed. New Delhi: Prentice Hall of India Private Limited.Carter, L., & Weerakkody, V. (2008). E – government adoption: A cultural comparison. Lnf Syst Front, 10, 473 – 482.

Boonchom Srisaat. (2002). Preliminary research Type7. Bangkok : Suwiriyasan.

Creswel, J. W., & Plano Clark, V. L. (2018). Designing and conducting Mixed Methods Research. 3nd ed. Los Angeles.

Chatchawan, R . (1996). Basic statistics. Khon Kaen : Klang Nana Wittaya Printing House.

Cronbach, L. J. (1951). Coefficient Alpha and the Internal Structure of Tests. Psychometrika. 6, 297 – 334.

Dubrin, J.A. and R.D. Ireland. (1993). Management Organization (2 Ed). Ohio south Western College Publishing.

David, O. & Ted, G . (1992). Reinventing Government. Addison : Wesley Publ.

Irada, L. (2018). The integration of government data. Bangkok : Electronic Government Office (Public Organization), EGA Thailand.

Klapper, J.T. (1960). The efects of mas communication. New York: The Free Press.

Woodrow, W. (1887). The Study of Administration. Political Science Science Quarterly.

Likert, Rensis A. (1961). New Patterns of Management. New York : McGraw-Hill Book Company Inc.

Ministry of Education. (2017). National Research Strategies by Issue Year 2017. Retrieved 23 February 2021, From http://www.bps.moe.go.th › research › data_file › N.

Nakorn, S. (2018). "The right to know" in the new constitution is worrisome ...". Retrieved 23 February 2021, From https://ilaw.or.th/node/4242Somnuk.

Pattiyathanee. (2003). Measure the results of the study 4th printing. Kalasin : Coordinate printing.

Panarat, P. (2015). Digital in communication and information technology: effects on national security. Bangkok : ASEAN Information Center Office of International Public Relations, Department of Public Relations.

Panarat, P. (2015). Threats arising through ICT . Retrieved February 23, 2021, From http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=3445&filename=index.

Thepsak, B. (2011). “Public Administration and Government Reforms” in the collection of concepts Theories and Principles of Public Administration 7th printing. Nonthaburi : Sukhothai Thammathirat University printing house.

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1988). SERVQUAL: A multi-item scale for measuring consumer perception of service quality. Journal of Retailing. 64(1), 12-40.

Thiphawan, L. (2006). Electronic Government e – Government 2nd Edition. Bangkok: Ratanatri.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-10-2023

ฉบับ

บท

บทความวิจัย