แนวทางในการพัฒนาการบริหารบริษัทรับการบริหารหนี้และ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ธนกร สีลาพัฒน์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น (หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต)
  • นพดล พันธุ์พานิช

คำสำคัญ:

กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ การผิดนัดชำระหนี้ แนวทางการบริหารบริษัทในการบริหารหนี้

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

เนื่องจากโลกาภิวัตน์ และวิกฤตการณ์ที่รุนแรง เช่นการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ทั่วโลก ทำให้การติดอาวุธทางปัญญาให้กับประชากรของโลกมีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ทำให้การศึกษาในระดับสูงยิ่งทวีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับการแข่งขันในการทำงาน แต่ยังมีประชาชนผู้ด้อยโอกาสที่ไม่มีทุนสำหรับการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา รัฐบาลไทยจึงมีการก่อตั้งกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) แต่ปัจจุบันกองทุนฯประสบปัญหาหนี้ค้างชำระเพิ่มมากขึ้นซึ่ง กยศ. ไม่สามารถแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้ทัน รัฐบาลจึงมีนโยบายให้ภาคเอกชนเข้ามาช่วย กยศ. บริหารและพัฒนาหนี้ 

งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของการบริหารบริษัทรับการบริหารหนี้และกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาในประเทศไทย และเพื่อพัฒนาแนวทางในการพัฒนาการบริหารบริษัทรับการบริหารหนี้และกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาในประเทศไทย โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งมีเครื่องมือในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์เจาะลึกผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 ท่าน งานวิจัยนี้เป็นกรณีศึกษา: บริษัท พีทีสยาม กรุ๊ป จำกัด ซึ่งเป็นผู้บริหารหนี้ในหลักร้อยล้านบาท

ผลการวิจัยพบว่า สภาพทั่วไปของการบริหารบริษัทรับการบริหารหนี้ของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาในประเทศไทยเป็นแบบกลยุทธ์ชนะทุกฝ่าย (Win Win Win Strategy) คือ กยศ. สามารถปรับโครงสร้างหนี้ได้ดีขึ้น ผู้กู้ยืมเงิน กยศ. สามารถใช้หนี้ชำระคืนได้ บริษัทรับการบริหารหนี้ก็ได้กำไรจากการบริหารหนี้ให้ดีขึ้น สังคมได้เงินทุนจากการชำระคืนไปให้เยาวชนโดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษาได้โอกาสในการศึกษาต่อ ประเทศไทยได้คนดีคนเก่งมาช่วยพัฒนาประเทศเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นงานวิจัยนี้ยังได้แนวทางในการพัฒนาการบริหารบริษัทรับการบริหารหนี้ของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาในประเทศไทย 8 ขั้นตอน ได้แก่ การป้องกันความเสี่ยง การสร้างความเปลี่ยนแปลงในกลุ่มเป้าหมาย การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการพัฒนาอย่างยั่งยืน ความเท่าเทียมและเป็นธรรม การดำเนินงานในเชิงรุกและการปฏิสัมพันธ์ของภาคีภาคส่วน การบรรเทาและแก้ไขปัญหาหนี้เสีย ผลตอบแทนในระยะยาว และความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งจะทำให้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาของไทยเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนต่อไปในระยะยาว

References

จารุวรรณ เป็งมล. (2015). กลยุทธ์การบริหารจัดการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการ ศึกษาในอนาคต. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา,23(41), 201-222.
ณั ฐ พล เนื่อง ชม ภู, สิริ กวิน ท์ ครุ ธ ครอง พันธุ์, & จิ ระ พันธ์ นาม ช วัด. (2021). ความ พึง พอใจ ของ นักศึกษา ใน ระดับ อุดมศึกษา ต่อ กองทุน เงิน ให้ กู้ยืม เพื่อ การ ศึกษา. พุทธ มัค ค์, 6(1), 202-214.
ดำรงค์ ตุ้มทอง, และพัชรินทร์ สิรสุนทร. (2563). ความเป็นธรรมทางการศึกษา: กรณีกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ในระดับการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย,12(1), (มกราคม – มิถุนายน).
ดำรงค์ ตุ้มทอง, พัชรินทร์ สิรสุนทร, เอื้อมพร หลินเจริญ, ทวีศักดิ์ ศิริพรไพบูลย์. (2019). กลยุทธ์การให้ทางเลือก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ในระดับการอาชีวศึกษาประเทศไทย. วารสารวิจัยทางการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มศว,14(2).
ไทยรัฐออนไลน์. (2561). ครูวิภา มีเมตตา ค้ำประกัน กยศ. ให้นักเรียน 60 คน สุดท้ายถูกยึดบ้าน.ออนไลน์: เข้าถึงได้จาก https://www.thairath.co.th/news/local/1340727
นพดล พันธุ์พานิช. (2561). กระบวนการเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจระบบอัตโนมัติที่อำนวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสำหรับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ปีที่ 4, ฉบับที่ 3, กันยายน – ธันวาคม, หน้า 170 - 185.
นุสรา เกิดประทุม. (2558). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การกำกับดูแลกิจการที่ดีของนายกสภามหาวิทยาลัย กับประสิทธิผลสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10 (2), หน้า 233 – 243.
ประพิศ โบราณมูล, ไพรัช พื้นชมภู, ณัฐญา สุทธิสนธิ, เสถียร เวียงดอนก่อ, &สุวนันท์ เฉลยพจน์. (2020). การ ติดตามประเมินผลการใช้จ่ายเงินกู้ยืมจากกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, 4(1), 1-14.
รวิวรรณ เดชานุภาพฤทธา.(2545). การวางแผนทางการเงินเพื่อที่อยู่อาศัยของบัณฑิตประจำ ปีการศึกษา 2539 ผู้กู้" กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา" (Doctoral dissertation, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
รุ่งโรจน์ ฝ้าย เยื่อ, ไชย รัตน์ ศิริ นคร, พระครู สันติ พนา ทร โปร่ง จิต, & ภาสกร ดอก จันทร์. (2021). แนวทาง การ แก้ไข ปัญหา หนี้ ของ เงิน กองทุน กู้ยืม เพื่อ การ ศึกษา (ก ยศ.). Journal of Roi Kaensarn Academi, 6(1), 199-213.
วัชราภรณ์ จันทนุกูล, สัญญา เคณาภูมิ. (2018). กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา: สาเหตุของปัญหาการค้างชำระหนี้. Humanities and Social Sciences Journal, Ubon Ratchathani Rajabhat University, 9(2), 123-130.
ศศมณฑ์ สงวนสิน. (2016). การบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนประกันวินาศภัยตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง. The journal of social communication innovation, 4(1), 33-47.
โอภาส มีเชาว์. (2018). ความสัมพันธ์การสร้างภาพลักษณ์ความไว้วางใจและความพึงพอใจต่อนโยบายการชำระ หนี้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา. Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University,5(2), 176-188.
Abraham, Stanley C. (2006). Strategic Planning a Practical Guide for Competitive Success.Ohio: Thomson South-Western.
Anderson, Carl R. (1988). Management: Skills, Function and Organization Performance. 2nded.Needham Heights. MA: Allyn and Bacon.
Anton, T. J. (1989). Occupational safety and health management. New York: McGraw-Hill.
Bartol, Kathryn M. and Martin, David C. Management. New York, McGraw-Hill, 1991.Second Edition, 1994. Third Edition, 1998.
Bartos and Wehr. (2002). Improving school from within: teachers, parents and principals canmake adifference.San Francisco: Jossey-Bass Publishers.
Bateman, Thomas S. & Scott A. Snell. (1999). Management: Building Competitive Advantage.(4th ed.). Boston: McGraw-Hill.
Bertalanffy, L. von, (1969). General System Theory. New York: George Braziller.
Black,D. R.และBezanson, S. (2004). The Managerial Grid Key Orientations for AchievingProduction through People. Taxas: Gulf Publishing Company.
Boonroungrut, C., Fei, H., & Dechprom, S. (2020). Dark personality impacts on saving and spending attitudes: A multi-group analysis between self-support and loan students. Kasetsart Journal of Social Sciences, 41(3), 521-526.
Botha, A. (2010). Destined for success? Key factors for successful growth in emerging energytechnologies. Retrieved October 18, 2013.
Brooks, J. R., & Levitin, A. J. (2020). Redesigning Education Finance: How Student Loans Outgrew the" Debt" Paradigm. The Georgetown Law Journal, 109, 5.
Buangam, P., & Sriyom, U. (2020). ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ นักศึกษา เพื่อ สนับสนุน การ พิจารณา ทุน กู้ยืม เพื่อ การ ศึกษา. Journal of Applied Informatics and Technology, 2(2).
Certo, S.C.,& Peter, J.P. (1991). Strategic Management: Concept and Applications. New York:MacGraw – Hill.
Certo, S.C. and Certo, S.T. (2006). Modern Management.10th Edition, Pearson Education Inc., Upper Saddle River.
Chabachib, M., Fitriana, T. U., Hersugondo, H., Pamungkas, I. D., & Udin, U. (2020). Firm value improvement strategy, corporate social responsibility, and institutional ownership. International Journal of Economics and Management Systems, 5.
Cheng. Yin Cheong & Tam wai ming. (1997). Multi- Models of Quality in EducationIn QualityAssurance in Education. West Yorkshire MCB University Press. 5(1): 22-31.
Cheng, Yin Cheong. (1993). Profiles of Organizational Culture and Effective Schools.SchoolEffectiveness and School Improvement.4, 2 (1993): 85-110.
Clark, B. (2020). Negative Impacts of Federal Student Loans and Grants. SSRN Electronic Journal.
Deem, R. (1998). 'New managerialism'and higher education: The management of performances and cultures in universities in the United Kingdom. International Studies in Sociology of Education,8(1), 47-70.
Deller, S., & Parr, J. (2020). Indebted and Drained: Student Loans and Rural America. Choices, 35(316-2020-1430).
Fedaseyeu, V. (2020). Debt collection agencies and the supply of consumer credit. Journal of Financial Economics.
Froot, K. A., Scharfstein, D. S., & Stein, J. C. (1993). Risk management: Coordinating corporate investment and financing policies. The Journal of Finance, 48(5), 1629-1658.
Giulianotti, R., & Klauser, F. (2010).Security government and sport-me-events: Towards aninterdisciplinary research agenda. Journal of sport and social issue, 34(1).
Griffin, John M. (2002). Are the Frma and French factors global or country-specific? The Review of Financial Studies.
Harris, D., Vigurs, K., & Jones, S. (2020). Student loans as symbolic violence. Journal of Higher Education Policy and Management, 1-15.
Hell A. Stacey. (2010). FAQ for web-based training multimedia and trainingnewsletter. Retrieved August 26, 2009 from http://www.brandon-hall. Com/faq.ht.
John J. Macionis. (1993). Sociology. Hardcover. Publisher: Prentice Hall.
Johnson, C.W. (2008). Blended learning and sense of community: a comparative analysis withtraditional and fully online graduate course. Retrieved May 27, 2020 fromhttp://www.irrodl.org/content/v5.2/rovai-jordan.html.
Kiliç, M. (2016). Online corporate social responsibility (CSR) disclosure in the banking industry. International Journal of Bank Marketing.
Otieno, W. (2004). Student loans in Kenya: Past experiences, current hurdles, and opportunities for the future. Journal of Higher Education in Africa, 2(2), 75-99.
Park, S., & Humphry, J. (2019). Exclusion by design: intersections of social, digital and data exclusion. Information, Communication & Society, 22(7), 934-953.
Saengtim, M., & Beokhaimook, C. (2021). ประเด็น ปัญหา ด้าน กฎหมาย เกี่ยว กับ การ ทำ สัญญา กู้ยืม เงิน อิเล็กทรอนิกส์ ของ กองทุน เงิน ให้ กู้ยืม เพื่อ การ ศึกษา กรณี ศึกษา กองทุน เงิน ให้ กู้ยืม เพื่อ การ ศึกษา (ก ยศ.). Research and Development Journal Suan Sunandha Rajabhat University, 13(1), 185-198.
Sato, Y., Watt, R. G., Saijo, Y., Yoshioka, E., & Osaka, K. (2020). Student loans and psychological distress: a cross-sectional study of young adults in Japan. Journal of epidemiology, 30(10), 436-441.
Shouxin, L., & Bray, M. (1992). Attempting a capitalist form of financing in a socialist system: student loans in the People's Republic of China. Higher Education,23(4), 375-387.
van Lier, P. (2020). Collecting against the Future: Student-Debt Practices Undermine Ohio's Higher Education Goals. Education & Training. Policy Matters Ohio.
Williamson, P. J., Wan, F., Eden, Y., & Linan, L. (2020). Is disruptive innovation in emerging economies different? Evidence from China. Journal of Engineering and Technology Management, 57, 101590.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2022

ฉบับ

บท

บทความวิจัย