การบริหารจัดการความสัมพันธ์ระหว่างวัดกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อความเข้มแข็งของชุมชนในจังหวัดนครปฐม

ผู้แต่ง

  • พระครูปุญญาภิสันท์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี

คำสำคัญ:

การบริหารจัดการ; , ความสัมพันธ์ระหว่างวัดกับองค์กร;, ความเข้มแข็งของชุมชน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับการบริหารจัดการ ระดับความสัมพันธ์ และเสนอแนวทางการบริหารจัดการความสัมพันธ์ระหว่างวัดกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อความเข้มแข็งของชุมชนในจังหวัดนครปฐม เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ พระภิกษุและบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำนวน 386 รูป/คน โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย และการสุ่มอย่างเป็นระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ การวิจัยเชิงคุณภาพ และการตีความหมายเชิงพรรณนา

ผลการวิจัยพบว่า ระดับการบริหารจัดการ ระดับความสัมพันธ์ และระดับการบริหารจัดการความสัมพันธ์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีแนวทางในการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาโดยการปรึกษาหารือร่วมกัน มีการเรียนรู้ธรรม เช่น การศึกษาผ่านช่องทางออนไลน์ วัดช่วยสนับสนุนงานสงเคราะห์ในด้านสถานที่ จัดตั้งมูลนิธิกองทุน ส่งเสริมอาชีพและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ โดยวัดเป็นศูนย์กลาง ฝึกจิตใจให้มีคุณธรรมและจริยธรรม ส่งเสริมสุขภาพอนามัย นำร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมที่เกิดจากความต้องการของผู้เรียนและประชาชน เป็นการเรียนรู้ตลอดชีพที่ทุกคนมีความสุขจากการเรียนรู้ ตลอดจนองค์กรที่จัดการศึกษาก็มีความสุขจากการจัดการศึกษาที่ได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย เป็นการศึกษาแบบเปิด เป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดขึ้นร่วมกันเพื่อสร้างขวัญกำลังใจในการทำงาน เป็นการเสริมพลังให้เกิดแรงบันดาลใจเพื่อก้าวเดินไปข้างหน้าร่วมกันอย่างมั่นคง  

References

Angkhana Boonsit. (2006). Restorative Justice Process and Local Dispute Settlement Culture in Thailand. Bangkok: The Thailand Research Fund.

Chalermsak Boonnam. (2010). Council of Community Organizations Driving Civil Politics for Community Solidarity. In the supporting documents of the 12th King Prajadhipok's Institute Academic Conference 2010, Volume 2. Bangkok: Si Charoen Printing.

Duangporn Hengbunyaphan and Hathaichanok Buacharoen, (2009). Community democracy drives towards the most livable sub-district at Sila Loy Sub-district. Bangkok: Q.P.

King Prajadhipok's Institute. (2012). Memorandum of King Prajadhipok's Award '09. in enhancing peace and reconciliation. 1st edition. Bangkok.

Kornphak Chaiprayoon. (2006), Presentation of educational management approaches to strengthen the power of the people in the area of democracy, Doctor of Education Thesis Development Studies Department of Management Policy and Educational Leadership, Faculty of Education, Chulalongkorn University.

Kowit Puangngam. (2012). Assessment Report of Local Administrative Organizations with Elevation for the King Prajadhipok's Award 2012, King Prajadhipok's Institute Democracy. Doctor of Education Thesis Department of Development Studies. Faculty of Education, Chulalongkorn University

Pongsak Yingchoncharoen. (2009). Local Administrative Organizations and Conflict Management in Society. In the summary of the 11th King Prajadhipok's Institute Academic Conference on Conflict, Legitimacy and State System Reform, Fair Allocation of Benefits in Thai Society. Bangkok: King Prajadhipok's Institute.

Sukanya Serinonchai. (2007). Communication in restorative justice. Study the case of family and community group meetings to correct and rehabilitate juvenile offenders. Master's Degree Thesis in Language and Culture for Communication and Development. Graduate School: Mahidol University.

Thanongsak Taweethong. (2014). The power of local communities to create innovations in health management by using space to set the stage to revitalize local communities to the 4th Thailand Apiwat of the Year 2014. Puen Thian Journal. Issue dated 3 March 2014.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2023

ฉบับ

บท

บทความวิจัย