บทบาทของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการจัดการองค์การกับการเยียวยาสังคมในภาวะวิกฤตการระบาดของโรคโควิด-19

ผู้แต่ง

  • พระครูธรรมคุต (สุทธิพจน์ สุทฺธิวจโน) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • นภารัตน์ กิตติรัตนมงคล
  • วาริณี โสภาจร

คำสำคัญ:

บทบาทมหาวิทยาลัยมหามุฏราชวิทยาลัย , การเยียวยาสังคม , ภาวะวิกฤตโควิด-19

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบทบาทของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการช่วยเหลือชุมชนช่วงภาวะวิกฤตการระบาดของโรคโควิด-19 2) ศึกษาการจัดการองค์การของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในภาวะวิกฤตการระบาดของโรคโควิด-19 3) เสนอแนวทางการส่งเสริมบทบาทของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการเยียวยาสังคมในช่วงภาวะวิกฤต เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธี โดยการสำรวจข้อมูลจากกลุ่มผู้รับบริจาคสิ่งของ ผู้ปฏิบัติงาน และผู้บริจาคสิ่งของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 380 คน สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการช่วยเหลือชุมชนช่วงภาวะวิกฤตการระบาดของโรคโควิด-19 ภาพรวมทั้ง 10 ด้าน มีความแตกต่างกัน คือ สภาพความคาดหวัง อยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละ 4.55 ในขณะที่สภาพปัจจุบัน อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 4.49 และผลการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้บริหาร บุคลากรและเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในต่อบทบาทของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ในการจัดการองค์การกับการเยียวยาสังคมในภาวะวิกฤตการระบาดของโรคโควิด-19 พบว่า 1) บทบาทของมหาวิทยาลัยฯ ที่สำคัญประกอบด้วย มีการระดมทุนช่วยเหลือ ช่วยในการประสานงานและรับบริจาคสิ่งของ ประชาสัมพันธ์และกำหนดวันเวลาให้ประชาชนเข้ารับมอบสิ่งของ และการจัดเตรียมสถานที่กองอำนวยการโครงการ 2) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยดำเนินงานเพื่อสนองพระดำริเจ้าพระคุณสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ในการตั้ง“กองทุนบรรเทา covid-19” และ 3) มีข้อเสนอแนะต่อการดำเนินการของมหาวิทยาลัยฯ ในเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติให้เน้นการจัดลำดับความสำคัญ การวางแผนล่วงหน้า การสื่อสารอย่างชัดเจน การแบ่งงาน และการเรียนรู้และปรับปรุงจากผลการปฏิบัติงานเดิม

References

Chatree Preeda Anantasuk. (2013). Change the perspective of crisis management with an integrated crisis management concept. Business Administration Journal Economics and Communication, 8(1), pp. 27-38.

Darunee Ruea and Suchon Prawatdee. (2018). Developing a mental healing model according to the Buddhist way of A woman who has suffered the loss of a loved one. Journal of the Mahachulalongkornrajavidyalaya, 4(1), pages 144-147.

Goldsmith, M. (2008). Preparing Your Company for a Crisis. Retrived from: https://hbr.org/

/09/preparing-yourcompany-for-a-crisis

Mettathamphisut. (2020). Mettathamphisut Royal projects Somdej PhraAriyawongsagatanyan Patriarch Sakolmahasangkhaparinayok and the role of Thai Sangha in the situation of COVID-19. Retrieved July 20, 2021 from https://online. pubhtml5.com/yxcv/ pajz

/#p=3.

Office of the Royal Thai Council. (2010). Radio script of the program "Know Rak Thai" broad

cast on the Radio Station of Thailand on June 23, 2010. Retrieved from: https: //1th.me/kxHOf

Patriarch Sakolmaha Sangkhaparina Yok. (2020). Post duday : “The Patriarch” gave the idea for the temple to set up an almshouse to help the victims of the COVID-19 crisis.

Parkes CM., Bereavement: Studies of grief in adult life, 2 nd ed., (NY: Tavistock Publications; 1986), pp. 27-8, Form https://1th.me/ARQbP

Pediatric Infectious Disease Association of Thailand (2020). Knowledge about corona virus. Coronaviruses). Retrieved July 21, 2020, from https://www.pidst.or.th/A215.html.

Pridiprem Chaikit. (2018). Crisis Management on Social Media of Mobile Network Operator Company. Journal of Public Relations and Advertising. Vol. 11, No. 1 (Jan.-Jun. 2018), pages 121-139 -- 1906-2230.

Prasit Karklang. (2009). Lecture documents of Damrong Rajanuphap Institute.

PraNeeti Songwatana, Kansunapas Banphit, Wattana Phromphet, Worasit Sornsriwichai and Suchira Wichaidit. (2017). The Project: Experience of Remedies and Health Outcomes of Disaster Remedies. From human hands under the context of Thai Buddhist and Muslim cultural society. Research Project Report, Prince of Songkla University.

Sarun Makruoddi. (2020). Mettathamphisut: Project according to the idea. Somdej Phra

Ariyawongsakatayan (AmphromhaSangha) SomdejPhraAriyawongsakatayan Patriarch

Sakolmahasangkaparinayok's and the role of Thai monks in the situation of COVID-19. Kanpre Press Company Limited: Nakhon Pathom.

Wantanee Wasikasin et al. (2000). General knowledge of social welfare and social work. Bangkok: Thammasat University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-09-2022

How to Cite

(สุทธิพจน์ สุทฺธิวจโน) พ. ., กิตติรัตนมงคล น. ., & โสภาจร ว. . (2022). บทบาทของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการจัดการองค์การกับการเยียวยาสังคมในภาวะวิกฤตการระบาดของโรคโควิด-19. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 7(3), 85–99. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmbr/article/view/257146

ฉบับ

บท

บทความวิจัย