การพัฒนากลยุทธ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ผู้แต่ง

  • ชณัฎฐ์ พงศ์ธราธิก คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • สุมนรตรี นิ่มเนติพันธ์
  • อนันต์ มาลารัตน์

คำสำคัญ:

การพัฒนากลยุทธ์, การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์การวิจัยคือ 1) เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์สภาพบริบทการท่องเที่ยวกลยุทธ์เชิงวัฒนธรรมในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2) เพื่อสร้างและพัฒนากลยุทธ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผู้วิจัยใช้พื้นที่การวิจัยคือจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ แบ่งพื้นที่ออกเป็น 8 อำเภอ มีประชากร 4 กลุ่มคือ 1) กลุ่มผู้กำหนดนโยบายภาครัฐ 2) กลุ่มผู้ประกอบการภาคเอกชน 3) ผู้นำชุมชน หรือ วิสาหกิจชุมชน 4) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญในระดับบริหาร รวมประชากรในการวิจัยครั้งนี้จำนวน 30 ท่าน ผู้วิจัยเก็บข้อมูลด้วยวิธีการ การสนทนากลุ่ม และสัมภาษณ์เจาะลึก ผลการวิจัยดังนี้ 1) ผลการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์สภาพบริบทการท่องเที่ยวกลยุทธ์เชิงวัฒนธรรมในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีการบริหารราชการแบ่งโครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความชัดเจน ชุมชนเข้มแข็งมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการในพื้นที่ การพัฒนาสินค้าและบริการที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ควรการพัฒนาสินค้าการท่องเที่ยวที่เชื่อมโยง ทะเล ภูเขา เกษตร และการอนุรักษ์ เข้าด้วยกัน เน้นความหลากหลายของแต่ละอำเภอ นโยบายรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของอ่าวไทยเป็นจุดเด่นที่สำคัญที่จะทำให้การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเจริญเติบโตสร้างรูปแบบพัฒนาบูรณาการภาครัฐ เอกชน และประชาชน อำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่มีความชัดเจนในหลายภารกิจการส่งเสริมการท่องเที่ยว 2) ผลสร้างและพัฒนากลยุทธ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลยุทธ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ คือ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีคุณภาพชั้นนำของเอเชีย มีความหลากหลาย เติบโตอย่างมีดุลยภาพ มีองค์ความรู้ที่เป็นจุดเน้นที่สำคัญคือHPSKMTBB Inclusive Model ”เพื่อนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Growth : SDG)

References

Abbass, F. A. (2003). Strategic Management Formulation, Implementation, and Control in a Dynamic Environment. New York: Haworth Press.
Bywater, M. (1993). The Market for Cultural Tourism in Europe: Travel and Tourism Analyst.
Caayaupan, R. B. (1985). Participation Approach : A Must in Rural Development. Occasional Paper Series on Community Management, 1(1).
Chapin, F. S. (1997). Social Participation and Social Intelligence. In In Handbook of Research Designate Social Measurement. New York: Longman.
Cohen, E. (1979). A Phenomenology of tourist experiences. Sociology Journal(13), 179-201.
Cohen, J. M., & Uphoff, N. T. (1986). World Deverlopment. New York: McGaw – Hill.
Cohen, J. M., & Uphooff, N. T. (1977). Rural development participation : Concept and measures for project design implementation and evolution rural development committee center for international studies. New York: Longman.
Creswell, J. W. (2012). Educational Research: Planning, Conducting, and Evaluating Quantitative and Qualitative Research (4th Edition, International edition ed ed.): PEARSON Publications.
De Kadt, E. (1990). Tourism: Passport to Development: Perspectives on the Social and Cultural Effects of Tourism in Developing Countries. Washington, D C., USA: UNESCO.
Fitts, R. A., & Lei, D. Startegc management: Building and sustaining competitive (2nd ed ed.). U.S.A: South-Western Publishing.
Fornaroff , A. (1980). Community involvment in Health System for Primary Health Care. Geneva: World Health Organization.
Gordon J. R and others. (1990). Management and Organizational Behavior. Boston: Allyn and Bacon.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2021

ฉบับ

บท

บทความวิจัย