การศึกษาสภาพและปัญหาเพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนทางออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้แต่ง

  • ไพศาล สุขใจรุ่งวัฒนา 089-7410216

คำสำคัญ:

การพัฒนา, การเรียนการสอนออนไลน์, ภาษาจีน

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มี วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพและปัญหา เพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนทางออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล และ 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการศึกษาสภาพและปัญหาเพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนทางออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี ใช้แนวคิด / ทฤษฎีการจัดการเรียนการสอน การสอนออนไลน์ เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาโทภาษาจีน (lach 301 กับ lach 201) ในปีการศึกษา 2564 จำนวน 46 คน เชิงคุณภาพ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาจีน จำนวน 5 คน ใช้วิธีคัดเลือกแบบเจาะจง  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. การเรียนการสอนภาษาจีนมีความยาก ขาดครู ขาดการส่งเสริมการใช้ภาษาจีนนอกห้องเรียน ขาดสื่อการสอน การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนภาษาที่ใช้ในสื่อต่าง ๆ ส่วนใหญ่เป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษมีภาษาจีนน้อย 2. สร้างและนำเสนอรูปแบบ PAISAN (E) Model ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ องค์ความรู้ที่ค้นพบ มีการส่งเสริมให้นักศึกษาทำกิจกรรมทางออนไลน์ สื่อการเรียนการสอนต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ เกิดความสนใจ มีความยืดหยุ่นของโครงสร้างเวลาเรียน เกิดกิจกรรมทางออนไลน์ เกิดความปกติใหม่และมีการประเมินผล

References

Artsub, S., Kunkum, S. (2015). Effectiveness of Moodle E-learning for Kinesiology Students. (SPSS 217 Sports Information and Illustration) 2558 (2): 81-89

Fakcharoenphol. W. (2020). Readiness to Implement Online Learning Management under the Covid-19 Pandemics. Journal of Education and Human Development Sciences. 4(1) January–June 2020

Javisoot, N. (2012). Instructional management in bachelor of arts. Program in Chinese, Faculty of Humanities. Srinakharinwirot university.

Khammani, T. (2014). Pedagogical Sciences: Knowledge for organizing effective learning processes. 21st printing. Bangkok: Chulalongkorn university press.

Masantisuk, R. (2008). Teaching Chinese in Thailand at the primary-secondary level. INSTITUTE OF ASIAN STUDIES. Chulalongkorn University.

Office of the Education Council. (2016). National Education Plan No. 10 (2002-2016). Retrieved on 9 August 2010. 10kd htpp://www.onec.go.th.

Office of Academic Affairs and Educational Standards. Office of the Basic Education Commission. (2008). Indicators and content for learning art According to the core curriculum of basic education, 2008. Bangkok: Agricultural Cooperative Association of Thailand Co., Ltd. printing house.

Promwong. W. (2021). Current Situations, Problems and Solutions to Learning Management Problems the Corona Virus Pandemic (COVID-19) of Schools under The Nakhon Phanom Primary Educational Service Area Office 1. (Faculty of Education, Nakhon Phanom University.

Rattikul, A. (2010). Build a complete E-Learning system with moodle. Bangkok: SE-ED Uceration.

Rue, Leslie W. and Byars, Lloyd L. (2002). Human resource management. Irwin. McGraw Hill.

Sikkhaman, K. (2011). A study of achievement in learning subject: Business English Communication Teaching By E-Learning. Sripatum University.

Subthanadol, T. (2011). Factors Affecting the Teaching and Learning Management of Online Lessons For Student's Nakhon Ratchasima Rajabhat University. Veridian E-Journal SU. 4 (1). (May – August, 2011): 652 – 666.

Trichan, S. (2014). Problems in teaching Chinese language in Thailand in the present era of vocational students. Pathumthani University Academic Journal. 6(2): 195-199.

Turley, Harold Stephn. (1996). Perception of Effective Teaching: The student Voice on Classroom practice. Dissertation Abstracts International 56 (January 1996): 3988-A.

Wasinanon, N. (2015). The Study of Thailand’s Systematic Chinese Teaching Management if Higher Education. Chinese Studies Center (CSC) is a research unit under the Institute of Asian Studies (IAS), Chulalongkorn University. Chinese Studies Journal Kasetsart University. Year 9, No. 2, B.E. 2016.

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. Third editio. Newyork: Harper and Row Publication.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-05-2022

ฉบับ

บท

บทความวิจัย