การบริหารสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษของโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์

ผู้แต่ง

  • นิตยา แก่นพุฒ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

การบริหารสภาพแวดล้อม, สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ทราบการบริหารสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาขนาดใหญ่ของโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ 2) เปรียบเทียบการบริหารสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาขนาดใหญ่ของโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ ตามความคิดเห็นของบุคลากรและนักเรียน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ ผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครู จำนวน 135 คน นักเรียน จำนวน 347 คน รวมทั้งสิ้น 482 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาขนาดใหญ่ สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียรย์สัน

          ผลการวิจัยพบว่า

  1. การบริหารสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษของโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับการบริหารสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาในแต่ละด้านจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านกลุ่มเพื่อน ด้านการบริหาร ด้านอาคารสถานที่ และด้านการจัดการเรียนรู้ เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า

                     1.1 การบริหารสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษของโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ ด้านอาคารสถานที่ โดยรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก

                     1.2 การบริหารสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษของโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ ด้านการจัดการเรียนรู้ โดยรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก

                     1.3 การบริหารสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษของโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ ด้านการบริหาร โดยรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก

                     1.4 การบริหารสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษของโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ ด้านกลุ่มเพื่อน โดยรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก

  1. เปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาขนาดใหญ่ของโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
  2. เปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาขนาดใหญ่ของโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ จำแนกตามอายุ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
  3. เปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาขนาดใหญ่ของโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ จำแนกตามระดับการศึกษา โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
  4. เปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาขนาดใหญ่ของโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ จำแนกตามตำแหน่ง โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน

References

เกรียงศักดิ์ บุญขวาง. (2556). สภาพแวดล้อมทางการเรียนและแนวทางการพัฒนาของนักเรียนวิทยาลัยสารพัดช่างชลบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา

BoonKwang, K. (2014). Environment Learning and Development of Students at Chonburi Polytechnic College. Master of Education Thesis. Burapha University.

จริยา มหาเทียร. (2559). วารสารพุทธจักร 70 กันยายน.

Mahatien. C. 2016. Journal of Buddhachakra 70 Vol. September.

ณัฐตะวัน ลิ้มประสงค์. (2558). รายงานสืบเนื่องจากการประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนองานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ (Proceedings) เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 15. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

Limprasong, N. (2016). Report due The Academic Conference : Nation and International Research Presentation (Proceedings), Graduate Network of Northern Rajabhat University. Nakornsawan: Nakornsawan Rajabhat University.

นันทวัน มุกสิกบุตร. (2553). ความพึงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนของโรงเรียนสว่างบริบูรณ์วิทยา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

Muksikkabut. N. (2010). Student’s Satisfaction towards Environmental Management of Sawangburiboonwittaya School Chonburi. Master of Education Thesis. Burapha University.

นฤมล ก้อนขาว. (2558). การศึกษาสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนศรัทธาสมุทร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

Konkhao, N. (2016). A Study of Student’s learning Environment in Satthasamut School under Educational Service Area Office 10. Master of Education Thesis. Burapha University.

พระมหาขุนทอง อคฺควโร (สนนำพา). (2555). ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อม ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Aggavaro. K. (2012). The Student’s Satisfaction towards Environmental Management in Higher Secondary School Level Bansang District Prachinburi Province. Master of Arts Thesis. Mahachulalongkornrajavidyalaya University.

วิทยา วิทยวงศาโรจน์. (2552). ศึกษาวิจัยเรื่องความพึงพอใจที่มีต่อสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านวังดินสอ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปราจีนบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

Wongsaroth. W. (2009). A Study of Satisfaction on Instructional Environment Banwongdinsor School under The Prajinburi Province Educational Service Area Office 2.Master of Education Thesis. Burapha University.

วิมลสิทธิ์ หรยางกูร และคณะ. (2554). จิตวิทยาสภาพแวดล้อม: มูลฐานการสร้างสรรค์และจัดการสภาพแวดล้อมน่าอยู่อาศัย. กรุงเทพมหานคร: บริษัท จี.บี.พี เซ็นเตอร์ จำกัด.

Horrayangkul. W. (2011). Environmental Psychology: A Basis for Creation and Management of Livable Environment. Bangkok: G.B.P. Centre Company Limited.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). คู่มือตรวจสอบและประเมินสถานศึกษา.กรุงเทพมหานคร: จุดทอง.

Office of the Basic Education Commission. (2011). A guide to checking and evaluating educational institutions. Bangkok: Judthong.

อาภาภรณ์ พายสำโรง. (2552). ศึกษาสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนพรพงษ์กุล จังหวัดสระแก้ว. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

Paisamrong. A. (2009). A Study of Instructional Environment of The Students in Pornpongkul School Sakeao Province. Master of Education Thesis. Burapha University.

Astin, A. W.. (1971). The college environment. New York: American Council on Education

Fred C. Luneburg and Allan C. Ormstein. (2007). Educational Administration: Concepts and Practices (5 ed.). CA: Wadsworth Publishing.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

07-02-2020

ฉบับ

บท

บทความวิจัย