พัฒนาการการจัดตั้ง การดำรงอยู่ และการปรับตัวของพรรคการเมือง ที่ก่อตั้งโดยกลุ่มนักการเมืองท้องถิ่น
คำสำคัญ:
กลุ่มนักการเมืองท้องถิ่น, พรรคการเมืองบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาพัฒนาการ การจัดตั้ง การดำรงอยู่และการปรับตัว การเปรียบเทียบของพรรคการเมืองทั้ง 3 พรรคพรรคพลังชล พรรคชาติไทยพัฒนา และพรรคภูมิใจไทยที่ก่อตั้งโดยกลุ่มนักการเมืองท้องถิ่นซึ่งเป็นการวิจัยคุณภาพ โดยสัมภาษณ์เชิงลึกเจาะจง และแบบก้อนหิมะ กับกลุ่มตัวอย่างที่มีบทบาททางการเมืองซึ่งอยู่ในพรรคการเมืองทั้ง 3 พรรค และการสนทนากลุ่ม เครื่องมือที่ใช้คือแบบสัมภาษาณ์ที่ตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ระเบียบวิธีวิจัย ผลการวิจัย พบว่า พรรคการเมืองทั้ง 3 มีมูลเหตุของการจัดตั้งพรรคแตกต่างกันตามสถานการณ์ทางการทางเมือง แต่ละพรรคต่างมีฐานเสียงเป็นของตนเอง การแข่งขันอาศัยต้นทุนของพรรค นโยบาย และยุทธศาสตร์ทางการเมือง พรรคสามารถรักษาพื้นที่ทางการเมืองไว้ได้ด้วยความเป็นท้องถิ่นนิยมและระบบอุปถัมภ์ โดยแต่ละพรรคจะมีพื้นที่ฐานเสียงทางการเมืองของพรรค ได้แก่ พรรคพลังชล พื้นที่ฐานเสียงสำคัญคือ จังหวัดชลบุรี พรรคชาติไทยพัฒนา จังหวัดสุพรรณบุรี และพรรคภูมิใจไทย จังหวัดบุรีรัมย์ ทั้ง 3 พรรค เน้นนโยบายและอุดมการณ์ในการพัฒนาท้องถิ่น มุ่งแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคม การดำรงอยู่ที่สำคัญของพรรค คือ จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรค
References
Chak Phanchupetch. (2006). Thai Politics and Government: From the Sukhothai Period to the Thaksin Period. Pathum Thani: Pimlak.
ธนภัทร ปัจฉิมม์. (2557). ท้องถิ่นนิยมกับการพัฒนาพรรคการเมืองไทยขนาดเล็ก ช่วงปี พ.ศ. 2540-2556. ปรัชญาดุษฎีบัณิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Thanaphat Pimsim. (2014). Localism and the development of small Thai political parties during the years 1997-2013. Philosophy of Dusadee Bunit, Ramkhamhaeng University.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2539). อ่านวัฒนธรรมการเมืองไทย. กรุงเทพมหานคร: มติชน.
Nithi Aoisiwong. (1996). Read Thai political culture. Bangkok: Matichon.
พัฒนา กิติอาษา. (2546). ท้องถิ่นนิยม (พิมพ์ครั้งที่ 2). เชียงใหม่: กองทุนอินทร์สมเพื่อการวิจัยทางมานุษยวิทยา.
Pattana Kitiasa. (2003). Localism (2nd edition). Chiang Mai: Insum Fund for Anthropological Research.
พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2533). โครงสร้างอำนาจและชนชั้นนำในชนบทไทย ศึกษากรณีหมู่บ้านดั้งเดิมและหมู่บ้านกำลังเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพมหานคร: สถาบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
Pichy Rattanadilok at Phuket. (1990). Power structure and elite in rural Thailand Case studies of traditional villages and villages are changing. Bangkok: National Institute of Development Administration.
ลักขณา ภักดีนฤนาถ. (2554). ความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ในการเมืองท้องถิ่นไทย: ศึกษากรณีความสัมพันธ์ของนักการเมืองกับผู้นำชุมชนในเขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Lakkhana Phakdee Narunat. (2011). Patronizing relationships in Thai local politics: a case study of relations of politicians and community leaders in Khlong San District Bangkok. Master of Political Thesis, Sukhothai Thammathirat University.
ลิขิต ธีรเวคิน. (2542). ระบบอุปถัมภ์และการเมืองไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Likhit Theerawekin. (1999). Thai patronage system and politics. Bangkok: Thammasat University.
สถาบันพระปกเกล้า. (2544). บทเรียนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพื่อปรับปรุงระบบเลือกตั้งให้ดีขึ้น. กรุงเทพมหานคร: อักษรโสภณ.
King Prajadhipok's Institute. (2001). Lessons from elected members of the House of Representatives To improve the election system. Bangkok: Aphanon.
สนิท สมัครการ. (2533). ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวเครือญาติกับระบบอุปถัมภ์กับสังคมไทย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Sanit Samarkan(1990) Relationship between kinship families and patronage system with Thai society. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat University.
สิทธิพันธ์ พุทธหุน. (2519). แนวทางการศึกษารัฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Sitipan Buddhahun. (1976). Political science study guidelines. Bangkok: Ramkhamhaeng University.
เสนีย์ คำสุข. (2552). การวิเคราะห์การเมืองและระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์. นนทบุรี: มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช.
Seni Khamsuk. (2009). Political analysis and research methods in political science. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University.
สุขุม นวลสกุล. (2528). การเมืองและการปกครองไทย. กรุงเทพมหานคร: ป.สัมพันธ์พาณิชย์.
Sukhum Nuansakul. (1985). Thai politics and government. Bangkok: Primary Relations Office.
อคิน รพีพัฒน์. (2533). การศึกษาและวิเคราะห์ชุมชนในการวิจัยเชิงคุณภาพใน คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่องานพัฒนา. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Akin Rapeepat. (1990). A study and analysis of the community in qualitative research in the qualitative research manual for development work. Khon Kaen: Khon Kaen University, Research and Development Institute.
อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2544). มิติชุมชน วิธีคิดท้องถิ่นว่าด้วยสิทธิ์ อำนาจแลtการจัดการทรัพยากร. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
Anand Kanchanaphan. (2001). Community dimension, local thinking about rights Power and resource management. Bangkok: Thailand Research Fund.
อุไรวรรณ ธนสถิต. (ม.ป.ป.). การเมืองไทยในระบอบธนาธิปไตย. ค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2561, จาก https://eprints.utcc.ac.th/1832/2/1832summary.pdf
Uraiwan Thanasathit. (YPP) Searched on 1 October 2018 form https://eprints.utcc.ac.th/ 1832/2/1832summary.pdf
Goodman, W. (1956). The two-party system in the United States. Princeton: D. von Nostrand.
Neumann, S. (1956). Modern political parties: Approaches to comparative politics. Chicago, IL: University of Chicago Press.
Macridis, R. C. (1967). Political party: Contemporary trends and ideas. New York: Harpers & Row Publisher.