An Analysis of Preposition Partner Errors in the Written and Spoken Discourse of Non-English Major Thai Students

Main Article Content

Krittaya Ngampradit
Lawrence Honkiss

บทคัดย่อ

This study aims to explore preposition-partner errors - the inappropriate use of prepositions - found in the written and spoken discourse of Thai university non-English major students. The authors used the taxonomy of errors proposed by Hemchua and Schmitt (2 0 0 6 ) to analyze three categories of preposition-partner errors (omission e.g. rely <rely on>, addition e.g. face up <face> and substitution e.g. depend to <on/upon>). The data of this study was taken from writing compositions, oral presentations, and interviews. The participants of this study were 8 0 students from Rajamangala University of Technology universities and Kasetsart University in Thailand. The analysis revealed that (a) Case I: Omission Errors were the most numerous errors in spoken discourse and Case III: Substitution Errors were the most numerous errors in the written discourse among students from both academic and technical universities; (b) there is a high positive relationship between errors committed in speaking and writing for Case I: Omission Errors and Case II: Addition Errors but no significant relationship for Case III: Substitution Errors from both universities. The results from this research have significant implications in vocabulary teaching and learning, particularly in the Thai context.

งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้คำคู่คำบุรพบทผิด(การใช้คำบุรพบทอย่างไม่เหมาะสม)ที่พบในแหล่งรวบรวมงานเขียนและการสื่อสารด้วยวาจาของนิสิตนักศึกษาไทยสาขาวิชาทั่วไป นักวิจัยอ้างอิงประเภทของการใช้คำคู่คำบุรพบทผิดของเหมเชื้อและสมิธในการวิเคราะห์ข้อมูล กล่าวคือ 1) การละคำบุรพบท เช่น rely <rely on> 2) การเติมคำบุรพบท เช่น face up <face> 3) การแทนที่ เช่น depend to <on/upon> ข้อมูลของการศึกษาวิจัยครั้งนี้มาจากงานเขียน การนำเสนอหน้าชั้นเรียน และการสัมภาษณ์นิสิตนักศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาจำนวนทั้งสิ้น 80 คน เป็นนิสิตนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตต่างๆ จากการวิเคราะห์ข้อมูลผลการวิจัยพบว่า ก) การใช้คำคู่คำบุรพบทผิดประเภทที่ 1 “การละคำ”และประเภทที่ 3 “การแทนที่”เป็นประเภทที่พบมากที่สุด (ตามลำดับ) ในแหล่งรวบรวมการสื่อสารด้วยวาจาและแหล่งรวบรวมงานเขียนของนิสิตนักศึกษาจากทั้งสองมหาวิทยาลัย ข) มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกทางสถิติของการใช้คำบุรพบทผิดระหว่างแหล่งรวบรวมการสื่อสารด้วยวาจาและงานเขียนของนิสิตนักศึกษาทั้งสองมหาวิทยาลัยในประเภทการใช้คำคู่คำบุรพบทผิดประเภทที่ 1“การละคำ” และประเภทที่2 “การเติมคำ” แต่ไม่พบนัยยะของความสัมพันธ์ทางสถิติสำหรับการใช้คำคู่คำบุรพบทผิดประเภทที่3 “การแทนที่”ผลการวิจัยดังกล่าวมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอนคำศัพท์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทของไทย


Article Details

บท
Articles