แนวทางการจัดตั้งกองทุนภัยพิบัติ กรณีศึกษาหมู่บ้านบางตวา ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

Main Article Content

อลิสา หะสาเมาะ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดตั้งกองทุนภัยพิบัติ โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth interview) การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participant Observation) โดยสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลซึ่งเป็นกลุ่มอาสาสมัครสาธารสุขประจำหมู่บ้านจำนวน 10 คน ชาวบ้านที่เคยประสบภัยพิบัติ 10 คน ผู้นำชุมชน 3 คน และผู้ที่จัดตั้งกองทุน 4 คน พื้นที่ศึกษา คือ หมู่บ้านบางตวา หมู่ที่ 2 ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี


ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการจัดตั้งกองทุนภัยพิบัติมาจากกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเข้าร่วมอบรมจากเครือข่ายผู้หญิงกับภัยพิบัติชายแดนใต้เพื่อการเตรียมความพร้อม การมีส่วนร่วมของชุมชน และแนวทางการจัดตั้งกองทุนมีแหล่งเงินทุนสนับสนุนจากมูลนิธิเพื่อการเยียวยาและสร้างความสมานฉันท์ชายแดนใต้ (มยส.) ชุมชนสามารถใช้กองทุนโดยไม่ต้องรอหน่วยงานต่าง ๆ ใช้ในเหตุการณ์ฉุกเฉินของชุมชน และในอนาคต ถ้าชุมชนสามารถพัฒนาเป็นกองทุนสวัสดิการสังคม สวัสดิการชุมชน สวัสดิการครัวเรือนที่ดี เพื่อเป็นประโยชน์ส่วนรวม กองทุนจึงสามารถจะพัฒนาได้ต่อไป


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัณฐิมาภรณ์ บุญประกอบ. (2559). การเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติของ
ชุมชนในพื้นที่ประสบ อุทกภัยจังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์รัฐ
ประศาสนศาสตรปริญญามหาบัณฑิต.
สุราษฏร์ธานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สืบจาก :
https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2016/11364/1/415090.pdf
กวิตม์ ศิริสรรพ์, บุณฑรีก์ โฆษิตานุฤทธ์ิ, มยูร บุญยะรัตน์, และณัฐพล ศรีพจนารถ.
(2554,กันยายน).
งานวิจัยการศึกษาเพื่อพัฒนาแนวทางการบริหารความเสี่ยงทางการคลัง
เชิงรุก โดยวิธี
จัดหาแหล่งเงินทุนเพื่อลดภาระทางการคลังที่เกิดจากภัยพิบัติธรรมชาติ.
สืบค้น จาก :
http://www2.fpo.go.th/e_research/pdf/RES_1_2554.
ขนิษฐา ทองเย็น. 2558. การจัดสวัสดิการชุมชนและความต้องการสวัสดิการ
ชุมชนเพื่อสุขภาวะ ของเครือข่ายสัจจะลดรายจ่ายวันละ 1 บาทเพื่อทำ
สวัสดิการภาคประชาชนจังหวัดสงขลา.
วิทยานิพนธ์. สืบค้นจาก :
https:///.php?u=https%3A%2F%2Fvcr.psu.ac.th.
ชูวงศ์ อุบาลี. (2557,กรกฎาคม-ธันวาคม). งานวิจัยการบริหารจัดการภัยพิบัติ :
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี.สืบค้นจาก :
https://www.ombudsman.go.th/10/ebooks/57_.
ชาติชาย ชินเวชกิจวานิชย์. (2561). งานวิจัยแนวทางการจัดตั้งกองทุนภัยพิบัติ
เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศไทย. สืบค้น จาก :
http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/
พิเชษฐ์ ตระกูลกาญจน์. 2561. การสร้างรูปแบบการบริหารจัดกองทุนหมู่บ้าน
และชุมชน. สืบค้น จาก :
http://www.journal.nu.ac.th/JCDR/article/download/2116/1299.
ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2557). ความตระหนักรู้ต่อการเตรียมความพร้อมรับมือภัย
พิบัติทาง ธรรมชาติ : การทบทวนวรรณกรรม. วารสารนักบริหาร, 34(2),
(92-115).
ทวิดา กมลเวชช. (2554). คู่มือการจัดการภัยพิบัติท้องถิ่น. หน้า 3-6
ธันฐกรณ์ รื่นกฤษ์รักษ์ และ เพ็ญประภา ภัทรานุกรม. (2561,กันยายน – ธันวาคม).
บทที่5. การจัดการภัยพิบัติน้ำท่วมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ศึกษากรณี
เครือข่ายพัฒนาสิ่งแวดล้อม คลองบางบัว. วารสารร่มพฤกษ์
มหาวิทยาลัยเกริก. ปีที่ 36. ฉบับที่ 3. หน้า120.
ปฐมภรณ์ บุษปรำธง. (2555). การจัดการภัยพิบัติ : ปรัชญาสวัสดิการและ
การประยุกต์.สืบค้นจาก :
http://www.royin.go.th/royin2014/u/246/ 1_4909.pdf.
ประเวช องอาจสิทธิกุล. (2554). กองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ. สมาคม
ธุรกิจท่องเที่ยวภายในประเทศ (สทน.) สืบค้น จาก :
https://domesticthailand.com/show.
ประเวช องอาจสิทธิกุล. (2555, 29 กุมภาพันธ์). กองทุนส่งเสริมการประกันภัย
พิบัติ [บทสัมภาษณ์].สืบค้น จาก :
http://www.oic.or.th/th/consumer/question.
ประเวช องอาจสิทธิกุล. (2555). กองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ.
สืบค้าจาก : http://www.oic.or.th/.
พีรณัฏฐ์ สิงหพันธ์. (2558,กรกฎาคม). งานวิจัยทุนทางสังคมในการจัดการ
สถาบันการเงินชุมชน กองทุนหมู่บ้านหนองยางหมู่ที่ 5 ตำบลชำราก
อำเภอเมือง จังหวัดตราด. สืบค้น จาก :
http://www.etheses.rbru.ac.th/pdf-upl6-2016-03-08-15.pdf.
พิสมัย ศรีเนตร และอัญชนา ณ ระนอง. (2561). ทุนชุมชนกับความสามารถของ
ชุมชน. วารสารการบริหารปกครอง, 7(1), (1-32).
สมพร คุณวิชิต และยุพิน รามณีย์. (2561). ผลกระทบภัยพิบัติทางภูมิอากาศ
การรับรู้ความเสี่ยง และการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกลุ่มน้ำ
ทะเลสาบสงขลา. วารสารศารสตร์และรัฐประ ศาสตร์, 9(1), (1-31).
สุวลังก์ วงศ์สุรวัฒน์,ศิริรัตน์ ชุณหคล้าย และวฤษสพร ณัฐรุจิโรจน์.
(2562,พฤษภาคม-มิถุนายน).
การบริหารกองทุนหมู่บ้านและชุมชนระดีบดีมาก กรณีศึกษาจังหวัด
นครปฐม. สืบค้น จาก :
https://www.tci-thaijo.org/index.
สุวรรณี คํามั่น และคณะ. (2551). สู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ทุน
ทางสังคมกับการพัฒนาทุนมนุษย์. สืบค้นจาก :
http://tdri.or.th/wp-cont _6_suwanee_final.pdf.
สำนักงานกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. (2562). การ
ลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติสู่พัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพ: สำนักงานโครงการ
พัฒนาแห่งสหประชาชาติสำนักงาน ประเทศไทย.
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย. (2555).
กองทุนส่งเสริม การประกันภัยพิบัติ. สืบค้นจาก :
http://www.oi/s14/incircle .pd c.or.thf.
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง. (2554). โครงการวิจัยเรื่อง
การศึกษาเพื่อพัฒนา แนวทางการบริหารความเสี่ยง ทางการคลังเชิงรุก
โดยวิธีจัดหาแหล่งเงินทุน เพื่อลดภาระ
ทางการคลังที่เกิดจากภัยพิบัติธรรมชาติ. สืบค้นจาก :
http://www2.fpo.go.th/e_research/pdf/RES_1_2554.pdf.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครราชสีมา. (2560).
รายงานผลการวิจัยการเข้าถึง กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการของ
องค์กรสวัสดิการสังคมในจังหวัดนครราชสีมา. สืบค้นจาก :
https://www.oic.go.th%2FFILEDRAWER003%2FGENERAL.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2545). แนวคิดและความหมายของการบริหารรและการ
จัด. สืบค้นจาก :
http://www.elfhs.ssru.ac.th.
วิษณุ หยกจินดา. (2557). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
หมู่บ้านทุ่งกร่าง ตำบลทับไทร อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี. งาน
นิพนธ์.สืบค้นจาก:
http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/55930171.pdf
ศุภโชค นิจสุนกิจ. (2554). เอาตัวรอดในสถานการณ์ภัยพิบัติ. ฉบับที่ 1.
หน้า8-9.
องค์การบริหารส่วนตำบลบางตาวา. (2558). ประวัติความเป็นมา. สืบค้นจาก :
https://www.bangtawa.go.th/history.php.
อามีรา เจะเตะ และฟาดิล แบเลาะ. (2562). การพัฒนาศักยภาพชุมชนบ้านดา
โต๊ะในการรับมือ ภัยพิบัติเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน(รายงานวิจัย). ปัตตานี :
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. หน้า10-13.