การรัฐประหารกับ “องค์อธิปัตย์” ในสังคมการเมืองไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งหาคำตอบทางปรัชญาการเมือง โดยผู้เขียนเลือกที่
จะอธิบายข้อสงสัยเหล่านี้ผ่านกรอบความคิดของนักปรัชญาที่ชื่อ Thomas
Hobbes ซึ่งแบ่งการนำเสนอเป็นสามส่วนซึ่ง ส่วนแรก สำรวจความหมาย
ของคำว่า “การปฏิวัติ รัฐประหาร” และจากการสำรวจพบว่า มีความสับสน
ในการใช้คำดังกล่าวในการใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองของไทย
ประการต่อมาเรื่องความสัมพันธ์ของแนวคิดเรื่อง “องค์อธิปัตย์” โดย Thomas
Hobbes กับคำว่า “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข”
พบว่าในสังคมการเมืองไทยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นศูนย์รวมใจของชาติ แต่มิได้
เป็นองค์อธิปัตย์ อย่างเช่นในสมัยรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และส่วน
สุดท้ายคือการหาข้อสรุปพบว่า ควรต้องระมัดระวังในการใช้คำว่า ปฏิวัติ
รัฐประหาร ระวังทั้งการใช้และการกระทำเพราะรัฐจะไม่มีวันตาย
Article Details
บท
บทความวิชาการ
References
กองบรรณาธิการมติชน. (2549). “รัฐประหาร 19 กันยา’ 49 เรียบแต่
ลึก”. คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข. กรุงเทพฯ: มติชน.
กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. (2552). ความขัดแย้งทางการเมืองของไทย ข้าม
ไปให้พ้นพลวัติภายใน ปาฐกถา 14 ตุลา ประจำปี 2552.
กรุงเทพฯ: มูลนิธิ 14 ตุลา.
คำพิพากษาฎีกา ประจำพุทธศักราช 2496.
ธงทอง จันทรางศุ. (2548). พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในทาง
กฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: เอส.ซี.พริ้นท์แอนด์แพค.
ธเนศ วงศ์ยานนาวา. (2552). 1968 MOI เชิงอรรถการปฎิวัติ. กรุงเทพฯ
: สมมติ.
ปรีดี เกษมทรัพย์. (2538). นิติปรัชญา. กรุงเทพฯ: ประกายพรึก.
ปรดี พนมยงค์. (2542). “ความเป็นมาของศัพท์ไทย ปฎิวัติ, รัฐประหาร,
วิวัฒน์, อภิวัฒน์”. คณะราษฎรกับการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย
24 มิถุนายน. กรุงเทพฯ: กังหัน.
รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 34/2475 ( วิสามัญ ) วันที่
26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475.
โรม บุคนาค. (2549). คู่มือรัฐประหาร. กรุงเทพฯ: สยามบันทึก.
ลิขิต ธีรเวคิน. (2547). วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. พิมพ์ครั้งที่
9. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิสุทธิ์ ไกรฤกษ์. (2475). อธิบายธรรมนูญปกครองแผ่นดินสยาม
เปรียบเทียบกับประเทศต่างๆ . พระนคร : โรงพิมพ์สยาม
บรรณกิจ.
ศูนย์บริการทางวิชาการและกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา.
ลึก”. คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข. กรุงเทพฯ: มติชน.
กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. (2552). ความขัดแย้งทางการเมืองของไทย ข้าม
ไปให้พ้นพลวัติภายใน ปาฐกถา 14 ตุลา ประจำปี 2552.
กรุงเทพฯ: มูลนิธิ 14 ตุลา.
คำพิพากษาฎีกา ประจำพุทธศักราช 2496.
ธงทอง จันทรางศุ. (2548). พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในทาง
กฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: เอส.ซี.พริ้นท์แอนด์แพค.
ธเนศ วงศ์ยานนาวา. (2552). 1968 MOI เชิงอรรถการปฎิวัติ. กรุงเทพฯ
: สมมติ.
ปรีดี เกษมทรัพย์. (2538). นิติปรัชญา. กรุงเทพฯ: ประกายพรึก.
ปรดี พนมยงค์. (2542). “ความเป็นมาของศัพท์ไทย ปฎิวัติ, รัฐประหาร,
วิวัฒน์, อภิวัฒน์”. คณะราษฎรกับการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย
24 มิถุนายน. กรุงเทพฯ: กังหัน.
รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 34/2475 ( วิสามัญ ) วันที่
26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475.
โรม บุคนาค. (2549). คู่มือรัฐประหาร. กรุงเทพฯ: สยามบันทึก.
ลิขิต ธีรเวคิน. (2547). วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. พิมพ์ครั้งที่
9. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิสุทธิ์ ไกรฤกษ์. (2475). อธิบายธรรมนูญปกครองแผ่นดินสยาม
เปรียบเทียบกับประเทศต่างๆ . พระนคร : โรงพิมพ์สยาม
บรรณกิจ.
ศูนย์บริการทางวิชาการและกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา.