การใช้สวัสดิการรักษาพยาบาลของวัยแรงงานไทย

Main Article Content

ชญานิศวร์ โคโนะ
ปิยนุช สายสุขอนันต์
ณัฏฐ์ ภูริพัฒน์สิริ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้สวัสดิการ
รักษาพยาบาลของวัยแรงงานไทยและเพื่อศึกษาปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดการ
ใช้สวัสดิการรักษาพยาบาลของวัยแรงงานไทย โดยวิเคราะห์ข้อมูลจาก
โครงการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ ปี พ.ศ. 2556 ซึ่งดำเนินการโดย
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลการวิจัยพบว่า ประชากรวัยแรงงานไทยใช้สวัสดิการ
รักษาพยาบาลร้อยละ 55.02 มากกว่าผู้ที่ไม่ใช้สวัสดิการรักษาพยาบาล
เพียงเล็กน้อย การวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกของ การใช้สวัสดิการ
รักษาพยาบาลกับปัจจัยด้านภูมิหลัง ปัจจัยสวัสดิการที่มีและปัจจัยด้าน
การเจ็บป่วยพบว่า ตัวแปรที่เป็นตัวกำหนดการใช้สวัสดิการรักษาพยาบาล
ของวัยแรงงานอย่างชัดเจน ได้แก่ ภูมิภาคที่อาศัย ประเภทของสวัสดิการที่
มีการมีโรคประจำตัว อาการเจ็บป่วย และระดับการเจ็บป่วย ในขณะที่ ตัว
แปรที่ไม่ได้เป็นตัวกำหนดการใช้สวัสดิการรักษาพยาบาลของประชากร
ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา จำนวนสมาชิกในครัวเรือน สถานภาพสมรส
และเขตที่อยู่อาศัย จึงสรุปได้ว่าผู้ที่มีปัจจัยภูมิหลัง ปัจจัยสวัสดิการที่มี
และปัจจัยด้านการเจ็บป่วยแตกต่างกันจะตัดสินใจใช้สวัสดิการ
รักษาพยาบาลแตกต่างกัน

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

ชญานิศวร์ โคโนะ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ปิยนุช สายสุขอนันต์

พยาบาลวิชาชีพ (ชำนาญการพิเศษ) โรงพยาบาลศิริราช

ณัฏฐ์ ภูริพัฒน์สิริ

นิสิตปริญญาเอก วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

References

เกื้อ วงศ์บุญสิน. (2547). ประชากรศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำนักงาน. (2558).
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11.
http://www.nesdb.go.th/download/article/article_.
20160323112431.pdf (สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2558).
ชื่นฤทัย กาญจนะจิตราและคณะ. (2553). สุขภาพคนไทย 2553: วิกฤต
ทุนนิยม สังคมมีโอกาส. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและ
สังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
เบญจา ยอดดำเนิน-แอ็ตติกจ์ และคณะ. (2542). พฤติกรรมสุขภาพ:
ปัญหา ตัวกำหนด และทิศทาง. นครปฐม: สถาบันวิจัย
ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
บุญคง หันจางสิทธิ์. (2556). เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์: ประชากร
แรงงาน การศึกษา ฝึกอบรม ศาสนธรรมจริยธรรม สุขภาพ
อนามัย สิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ:
โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.
ประกันสังคม, สำนักงาน. (2555). สถานการณ์สถิติการประสบอันตราย
หรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน ปี 2550-2554. กรุงเทพฯ:
ฝ่ายกำหนดอัตราเงินสมทบสำนักงานกองทุนเงินทดแทน
สำนักงานประกันสังคม.
ลักขณา เติมศิริชัย. (2541). สู่ศตวรรษใหม่ของการส่งเสริมสุขภาพ.
กรุงเทพฯ: ดีไซร์.
วนิดา วาดีเจริญ, อธิวัฒน์ กาญจนวณิชย์กุล และสมบัติ ทีฆทรัพย์.
(2556). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ จากแนวคิดทฤษฎีสู่
ภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สาธารณสุข, กระทรวง. (2546). คู่มือผู้ถือบัตรทอง. กรุงเทพฯ: กระทรวง
สาธารณสุข.
สุปราณี เชยชม. (2548). การเลือกใช้วิธีการรักษาพยาบาลของผู้สูงอายุ:
กรณีศึกษาโครงการกาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
มหาวิทยาลัยมหิดล.
สถิติแห่งชาติ, สำนักงาน. (2543). รายงานการเจ็บป่วยและสวัสดิการค่า
รักษาพยาบาล การสำรวจข้อมูลทางสังคม พ.ศ. 2542.
กรุงเทพฯ: กองคลังข้อมูลและสนเทศสถิติ.
สถิติแห่งชาติ, สำนักงาน. (2555). สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ.
2553 ทั่วราชอาณาจักร. กรุงเทพฯ: สำนักสถิติพยากรณ์.
สถิติแห่งชาติ, สำนักงาน. (2556). สรุปผลที่สำคัญการสำรวจภาวะ
เศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2555. กรุงเทพฯ:
สำนักงานสถิติพยากรณ์.
สถิติแห่งชาติ, สำนักงาน. (2557). รายงานสำรวจอนามัยและสวัสดิการ
พ.ศ. 2556. กรุงเทพฯ: สำนักสถิติพยากรณ์.
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, สำนักงาน. (2559). เรื่องควรรู้..หลักประกัน
สุขภาพ [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก
http://ebook.dreamnolimit.com/nhso/004/.
(สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2559).
Andersen, R. and J. F. Newman. (1973). Societal and individual
determinants of medical care utilization in the
United State. Milbank Memorial found Quarterly
51(1): 95-124.
Kleinman, A. (1980). Patients and healers in the context of
culture: An exploration of the borderland
between, anthropology, medicine, and psychiatry.
Berkeley: University of California Press.
Marcia Stanhope and Jeanette Lancaster. (2016). Public
health nursing: population-centered health
care in the community. St. Louis, Missouri: Elsevier.
Sibson, Robert E. (1976). Increasing employee productivity.
New York: Amacom.
Young, J. C. (1981). Non-use of physicians: Methodological
approaches, policy implications and the the utility of
decision models. Social Science & Medicine 15(4):
499-507.