สถานภาพการวิจัยสภาพและปัญหาการใช้ภาษาไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษางานวิจัยเกี่ยวกับสภาพและปัญหาการใช้ภาษาไทยในประเด็นวัตถุประสงค์การวิจัย แหล่งข้อมูล วิธีการเก็บข้อมูล และผลการวิจัย และศึกษาแนวโน้มการศึกษาสภาพและปัญหาการใช้ภาษาไทย ผลการวิจัยพบว่า งานวิจัยสภาพและปัญหาการใช้ภาษาไทยมีวัตถุประสงค์การวิจัย 2 ประเด็น ได้แก่ (1) เพื่อศึกษาสภาพการใช้ภาษาไทยที่ศึกษาการใช้คำ ความหมายของคำ และวิธีสื่อความหมาย และ (2) เพื่อศึกษาปัญหาการใช้ภาษาไทย แหล่งข้อมูลในการวิจัยพบ 3 แหล่งข้อมูล ได้แก่ (1) สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ (2) สื่อออนไลน์ ได้แก่ เว็บไซต์ แอพพลิเคชัน และ (3) บุคคล ได้แก่ คนไทยที่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาในการติดต่อสื่อสาร คนต่างชาติที่ใช้ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ผลการวิจัยพบ (1) สภาพการใช้ภาษาทั้งในสื่อสิ่งพิมพ์และในสื่อออนไลน์ มีการใช้วิดีโอและรูปภาพการสื่อสาร (2) ปัญหาการใช้ภาษาไทย พบปัญหาการเขียน ปัญหาการอ่าน และปัญหาการพูดกับคนไทยที่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาในการติดต่อสื่อสารและคนต่างชาติที่ใช้ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ส่วนแนวโน้มการศึกษาสภาพและปัญหาการใช้ภาษาไทยพบว่ามีการเผยแพร่วิจัยสภาพและปัญหาการใช้ภาษาไทยมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 มาอย่างประปราย ซึ่งพบการทำวิจัยน้อยในปี พ.ศ. 2541 ปี พ.ศ. 2543 ปี พ.ศ. 2546 ปี พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2549 ต่อมาในปี พ.ศ. 2551 เป็นต้นมา พบว่ามีการทำงานวิจัยในด้านนี้มาอย่างต่อเนื่องทุกปี พบการทำวิจัยเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 โดยปี พ.ศ. 2561 พบการทำวิจัยมากที่สุดจำนวน 6 เรื่อง
Article Details
References
นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปะเชียงใหม่.
วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กอบกาญจน์ วิเศษรัมย์. (2559). การใช้ภาษาในหนังสือพิมพ์บันเทิง. วารสารราชภัฏ
เพชรบูรณ์สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. 17(2). 29 – 35.
กานต์รวี ชมเชย. (2556). “ภาษาไทยเน็ต” : ภาษาเฉพาะกลุ่มของคนไทยรุ่นใหม่ในการ
สื่อสารทางอินเตอร์เน็ต. รายงานการวิจัยสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กานต์รวี ชมเชย. (2558). ภาษาไทยเน็ต : ภาษาสนทนาในโปรแกรมสนทนาใน
สมาร์ทโฟน. รายงานการวิจัยสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.
เกรียงศักดิ์ พลอยแสง. (2554). การศึกษาปัญหาการใช้ภาษาไทยของนิสิตชาว
ต่างประเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. รายงานการวิจัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ไขสิริ ปราโมช ณ อยุธยา. (2519). การศึกษาวิเคราะห์ลักษณะข้อผิดพลาดในการเขียน
ภาษาไทย ของนิสิตคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี
การศึกษา 2515-2516. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
จินตนา พุทธเมตะ. (2554). ข้อบกพร่องในการเขียนภาษาไทยของนักศึกษาในโครงการ
ความร่วมมือทางวิชาการวิชาเอกภาษาไทยของนักศึกษาในโครงการความร่วมมือ
ทางวิชาการวิชาเอกภาษาไทย ชั้นปีที่ 3 ภาควิชาภาษาไทย คณะภาษา
และวัฒนธรรมตะวันออก มหาวิทยาลัยภาษาและการค้าต่างประเทศกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ.2552. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 3(5). 23 – 30.
จุรีรัตน์ นิจจำปา. (2555). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านภาษาไทย โดย
ใช้แผนการสอนสำหรับผู้เรียนชาวพม่า ระดับ 2 โรงเรียนสอนภาษาของมูลนิธิ
ร่วมมิตร ไทย-พม่า เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชัชวดี ศรลัมพ์. (2544). การใช้ภาษาใน “ห้องสนทนา”. วารสารศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 1(1). 77 – 92.
ซารีณา นอรอเอ. (2561). ลักษณะการใช้ภาษาบนสื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นไทยใน
ปัจจุบัน. รายงานการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่
9 ที่จัดขึ้นในวันที่ 20 – 21 กรกฎาคม 2561 ณ จังหวัดสงขลา.
ชูศรี ศรีแก้ว. (2527). การศึกษาเปรียบเทียบข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาไทยของ
นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2525. วิทยานิพนธ์
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐพงศ์ เชื้อเพชร. (2561). สภาพและแนวทางแก้ไขปัญหาการอ่านสะกดคำและเขียน
สะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาใน
โรงเรียนสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทาง
การศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 13(3). 82 – 95.
ณัฐวรรณ ชั่งใจ. (2560). ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาเขียนตอบอัตนัยของนักศึกษาวิชาเอก
ภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์ ฉบับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
6(2). 35 – 52.
ทัศนีย์ ทานตวณิช. (2558). ข้อผิดพลาดในการเขียนเชิงวิชาการของนิสิตสาขาวิชา
ภาษาไทย มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา. 23(43). 1 – 29.
ธนู ทดแทนคุณ. (2558). ข้อบกพร่องในการเขียนภาษาไทย: กรณีศึกษานักศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี. รายงานการประชุม
วิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 1 ที่จัด
ขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน 2559 ณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ธิดา โมสิกรัตน์. (2561). การใช้ภาษาไทยของนักศึกษาจีน: กรณีศึกษาปัญหาการเขียนของ
นักศึกษาจีน หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทย
เป็นภาษาที่สอง มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วารสาร
ศิลปศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 13(25). 13 – 27.
ธีร์วรา ขะบูรณ์. (2557). วิเคราะห์การใช้ภาษาพาดหัวข่าวในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ. วารสาร
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 11(2). 105 – 116.
นวลทิพย์ เพิ่มเกสร. (2551). ปัญหาการใช้ภาษาไทยของนักศึกษาจีนที่เรียนภาษาไทยใน
ฐานะภาษาต่างประเทศ. วารสารวรรณวิทัศน์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 8(8).
149 – 159.
นันทา ทองทวีวัฒนะ. (2562). การศึกษาปัญหาการเขียนภาษาไทย ของนักศึกษาต่างชาติ
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ. วารสารวรรณวิทัศน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 16(1).
160 – 178.
นิตยา กาญจนะวรรณ. (2547). ปัญหาการใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นิตยา กาญจนะวรรณ. (2554). การวิเคราะห์โครงสร้างภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นิภา กู้พงษ์ศักดิ์. (2555). ปัญหาการใช้ภาษาไทยของนักศึกษาต่างชาติ: กรณีศึกษา
นักศึกษาจีน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 31(1). 123 – 139.
นิภา กู้พงษ์ศักดิ์. (2557). การสื่อความหมายในไลน์. วารสารวัฒนธรรมและศิลปะ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 15(2). 12 – 21.
บุญญาพร ทองจันทร์. (2560). ปัญหาการเขียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม). วารสารช่อพะยอม
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 28(1). 125 – 132.
พรพรรณ สวัสดิสิงห์. (2548). ข้อบกพร่องในการใช้ภาษาไทยเพื่อสื่อสารในภาษาเขียน
ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเอกชนเขตกรุงเทพ. รายงานการวิจัย
มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
พิณทิพย์ ทวยเจริญ. (2543). ภาพรวมของการศึกษาภาษาและภาษาศาสตร์. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ภาสพงศ์ ผิวพอใช้. (2550). การศึกษาข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาไทยของนักศึกษา
ลาว ระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. รายงานการวิจัย
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
รสริน ดิษฐ์บรรจง. (2561). การศึกษาปัญหาการเขียนภาษาไทยของนักศึกษาจีนจาก
Guangxi Agricultural Vocational College มณฑลกว่างซี สาธารณรัฐ
ประชาชนจีน. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏธนบุรี. 1(1). 38 – 53.
วันชัย แก้วหนูนวล. (2561). ลักษณะข้อผิดพลาดในการใช้ภาษาไทย: กรณีศึกษาการเขียน
ภาษาไทยของนักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์.
วารสารสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาส
ราชนครินทร์. 5(2). 1 – 11.
วิภาวรรณ อยู่เย็น. (2540). การศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างภาษาไทยกับ
ภาษาลาว และข้อบกพร่องในการใช้ภาษาไทยของนักศึกษาลาวที่
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วารสารสาขามนุษยศาสตร์วิชาการ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 5(1). 35 – 54.
ศรีจันทร์ วิชาตรง. (2542). การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาไทยของนักศึกษา
สถาบันราชภัฏพระนคร ปีการศึกษา 2540. รายงานการวิจัยสถาบันราชภัฏ
พระนคร.
ศิริพร ปัญญาเมธีกุล. (2548). ภาษาในห้องสนทนาทางอินเทอร์เน็ต. วารสารมนุษยศาสตร์
ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 27(1). 63 – 71.
ศุนิสา ทดลา. (2542). รูปแบบพฤติกรรมการสื่อสารในห้องสนทนาบนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุจิตรา ประชามิ่ง. (2560). การใช้ภาษาแชทในการสื่อสารผ่านแอปพลิเคชันไลน์. วารสาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. 11(2). 80 – 89.
สุนันทา โสรัจจ์. (2528). การสำรวจความสามารถทางการเขียนสะกดการันต์ การศึกษา
มูลเหตุแห่ง การเขียนผิดและแนวทางในการแก้ปัญหาเรื่องการเขียนสะกด
การันต์ผิดของนิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัย. รายงานการวิจัยมหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.
สุภัทร แก้วพัตร. (2560). ภาษากับสังคม. เอกสารประกอบการสอนคณะมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
สุรีย์รัตน์ บำรุงสุข. (2554). ข้อบกพร่องในการเขียนภาษาไทยของนักศึกษาชาว
ต่างประเทศที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: กรณีศึกษานักศึกษาชาวเกาหลี.
วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 18(1). 113 – 126.
สุรีรัตน์ อักษรกาญจน์. (2559). การศึกษาลักษณะข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาไทยของ
นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี ปี
การศึกษา 2558. วารสารราชภัฏเพชรบูรณ์สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เพชรบูรณ์. 18(2). 65 – 74.
สุรีย์วรรณ เสถียรสุคนธ์. (2553). ข้อบกพร่องในการเขียนภาษาไทยของนักศึกษาจีน:
กรณีศึกษามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีการศึกษา 2551-2552. รายงานการ
วิจัยคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
สุรัตน์ ศรีราษฎร์. (2556). การใช้คำในพาดหัวข่าวของหนังสือพิมพ์รายวัน: ศึกษารูปคำ
และความหมาย. วารสารวรรณวิทัศน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 3(3).
198 – 214.
สุวศิน เกษมปิติ. (2556). การศึกษาข้อบกพร่องในการเขียนเรียงความภาษาไทยของ
นักศึกษาชาวจีนในโครงการแลกเปลี่ยนมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2531). ภาษาศาสตร์เชิงสังคม. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการ
การวิจัยแห่งชาติ
อดุลย์ ไทรเล็กทิม. (2550). ปัญหาการใช้ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาใน
กรุงเทพมหานคร. วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 10(1). 83 – 96.
อมรา ประสิทธิรัฐสินธุ์. (2556). ภาษาศาสตร์สังคม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรชา เผือกสุวรรณ. (2545). การใช้ภาษาการพาดหัวข่าวของหนังสือพิมพ์รายวัน
ภาษาไทย. รายงานการวิจัยมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
อัญชลี ทองเอม. (2537). ศึกษาลักษณะความผิดพลาดในการเขียนภาษาไทย ของ
นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. รายงานการ
วิจัยมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
Li Chunxiao. (2557). การศึกษาข้อผิดพลาดการใช้นามวลีภาษาไทยของนักศึกษาจีน
วิชาเอกภาษาไทยชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยชนชาติกวางสี. วารสารศรีนครินทร-
วิโรฒวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 6(12). 149 – 160.
Ou Liufen. (2561). ปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการใช้ภาษาไทยของนักศึกษาชาวจีน
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ
มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2561 ที่จัดขึ้นในวันที่ 4 พฤษภาคม 2561 ณ
จังหวัดปทุมธานี.