แนวทางการเพิ่มศักยภาพการให้บริการของธุรกิจรีสอร์ท ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการให้บริการของ
ธุรกิจรีสอร์ทในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง 2) วิเคราะห์ปัจจัยการให้บริการที่
มีอิทธิพลต่อศักยภาพรีสอร์ท 3) เสนอแนวทางการเพิ่มศักยภาพการให้บริการของ
ธุรกิจรีสอร์ท ด้วยวิธีวิจัยแบบผสม (Mixed Methods Research) ระหว่างเชิงเชิง
คุณ ภาพ และปริมาณ โดยคณ ะผู้วิจัยได้ใช้การสัมภาษณ์แบบเชิงลึกและ
แบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างคือ 1) กลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจรีสอร์ท จานวน 8 แห่ง ๆ
ละ 2 คน 2) กลุ่มผู้ใช้บริการ จานวน 352 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ
(Accidental Sampling) สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Analysis)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยการให้บริการที่มีอิทธิพลต่อศักยภาพรีสอร์ท โดย
ภาพรวมทั้ง 8 P’s (the Eight components) พบว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ
มาก ส่วนแนวทางการเพิ่มศักยภาพการให้บริการประเด็นสาคัญ ได้แก่ ราคาที่พักถูก
เมื่อเทียบกับที่พักแบบอื่น มีส่วนลดสาหรับผู้ที่เคยมาใช้บริการ ภาพพจน์และชื่อเสียง
ของรีสอร์ท พนักงานมีจิตใจให้บริการ การบริการได้รับคาบอกกล่าวจากคนรู้จัก ทำ
ความสะอาดอุปกรณ์ที่พักสม่าเสมอมีความปลอดภัย ความเหมาะสมกับคุณภาพการ
บริการ สภาพแวดล้อมดีมีอากาศบริสุทธิ์ บรรยากาศภายนอกร่มรื่น
Article Details
References
ทางการให้บริการ การรับรู้ตราสินค้า การรับรู้คุณภาพสินค้า ความภักดี
ต่อตราสินค้า ภาพลักษณ์องค์กรที่มีต่อการรับรู้บริการหลังการขาย. ใน
การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (หน้า 31-42). ปทุมธานี:
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2558). จานวนนักท่องเที่ยว
ชาวต่างชาติในประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2554 ถึง 2558. [ออนไลน์]
สืบค้นเมื่อ 4 มกราคม 2562 จาก
http://www.m-society.go.th/article_attach/12133/16378.pdf.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2558). ข้อมูลแสดงจานวนที่พักแรมในประเทศ
ไทย. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 4 มกราคม 2562 จาก
http://marketingdatabase.tat.or.th.
คุณัญญา พรหมปัญญานันท์ และนิตนา ฐานิตธนกร. (2557). ปัจจัยส่วนประสมทาง
การตลาดบริการ สื่อสังคมออนไลน์และความรับผิดชอบต่อสังคมของ
องค์กร ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการซุปเปอร์มาร์เก็ตของชาวต่างชาติ
ในเขตกรุงเทพมหานคร. ใน การประชุมวิชาการปัญญาภิวัฒน์ (หน้า
A227-A289). นนทบุรี: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์.
ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2546). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ฉัตรปารี อยู่เย็น และอภิสิทธิ์ ตั้งเกียรติศิลป์. (2552). ปัจจัยทางการตลาดที่มี
อิทธิพลต่อนักท่องเที่ยวในการเลือกพักโรงแรมและรีสอร์ทในเกาะสมุย
และเกาะพงัน จังหวัดสุราษฎ์ธานี. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลธัญบุรี.
ฉัตยาพร เสมอใจ. (2547). การจัดการและการตลาดบริการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ด
ยูเคชั่น.
ณัฏฐ์นรี แก้วจันทร์เพชร. (2556). พฤติกรรมและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่
นักท่องเที่ยวให้ความสาคัญในการท่องเที่ยวเขื่อนรัชชประภา จังหวัด
สุราษฎร์ธานี. ใน การประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัย
กรุงเทพ. (หน้า 264-273). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ธีรกิติ นวรัตน ณ อยุธยา. (2549). การตลาดบริการ : แนวคิดและกลยุทธ์. พิมพ์
ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธัญพรนภัส แฟงสม. (2556). แนวทางการพัฒนาการตลาดของโรงแรมระดับ 4 ดาว
เครือภายในประเทศในเขตเมืองพัทยา. วารสารการบริการและการ
ท่องเที่ยวไทย. 8(1), 49-60.
มาลินี สนธิมูล และอิทธิกร ขาเดช. (2557). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
ชาวต่างชาติที่มีต่อการใช้บริการโรงแรมระดับ 5 ดาวในเขต
กรุงเทพมหานคร. วารสารการเงิน การลงทุน การตลาดและการ
บริหารธุรกิจ. 4(2), 204-217.
พัชรพล ดุลยนิษกะ. (2552). ความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อ
การใช้บริการรีสอร์ทขนาดเล็กในจังหวัดสงขลา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
ธุรกิจบัณฑิต.
แผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการ
บูรณาการนโยบายพัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2561
[ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 4 มกราคม 2562 จาก
https://www.nesdb.go.th/
สานักงานพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2550). รายงาน
สรุปผลการฝึกอบรมภายใต้โครงการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวด้าน
Hospitality Management. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). [ออนไลน์]
สืบค้นเมื่อ 4 มกราคม 2562 จาก https://www.nesdb.go.th/
อนุชิดา พลายอยู่วงศ์ และนิตนา ฐานิตธนกร. (2557). ความพร้อมในการให้บริการ
เพื่ออรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของผู้ประกอบการรถทัวร์ปรับ
อากาศสายอีสาน-เหนือ. ใน การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับ
บัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. หน้า P-SS-004-13.
นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Kontis, A.P., & Lagos, D. (2015). Factor framework for the
evaluation of multichannel marketing mixes in 5* City
Hotels. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 175 (1),
408-414.