จิตสำนึกการจัดการความปลอดภัยด้านอาชญากรรมในการท่องเที่ยว โดยชุมชน ของบ้านจ่าโบ่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้เพื่อศึกษาจิตสานึกการจัดการความปลอดภัยด้าน
อาชญากรรมในการท่องเที่ยวโดยชุมชน ของบ้านจ่าโบ่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน เก็บ
รวบรวมข้อมูลโดยสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลสาคัญ ประกอบด้วย ตารวจภูธรและ
ตารวจท่องเที่ยว สมาชิกในชุมชน ผู้ประกอบการโฮมสเตย์ เจ้าของร้านค้าในชุมชน
และนักท่องเที่ยว จานวน 25 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า สภาพโดยทั่วไป ที่ตั้ง และโครงสร้างองค์กรชุมชน มีลักษณะที่
ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีปัจจัยเอื้อต่อสภาพการจัดการความปลอดภัยด้าน
อาชญากรรมในการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่ดี พบประเด็นความเสี่ยงคือ ด้านอุบัติเหตุ
จราจร และการพังถล่มของสิ่งปลูกสร้าง มีการจัดการความปลอดภัยและบังคับใช้
กฎหมายอย่างเคร่งครัด มีกฎระเบียบและแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน มีจิตสานึกที่ดี โดย
ด้านพุทธิพิสัย พบว่ามีความรู้ความเข้าใจในการจัดการความปลอดภัยด้าน
อาชญากรรมในการท่องเที่ยวโดยชุมชน เข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการความ
ปลอดภัย ด้านจิตพิสัย พบว่ามีความตระหนัก ใส่ใจ ให้ความร่วมมือ มีทัศนคติที่ดีและ
ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมในการจัดการความปลอดภัยด้านอาชญากรรมในการ
ท่องเที่ยว ด้านทักษะการปฏิบัติ พบว่าเป็นชุมชนเข้มแข็ง มีการบริหารจัดการอย่าง
เป็นระบบ เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชน มีกฎกติกาทางสังคม และมี
กิจกรรมส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง ส่วนแนวทางการส่งเสริมจิตสานึกการจัดการความ
ปลอดภัยด้านอาชญากรรม คือการจัดการอบรมและให้ความรู้อย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ
ที่สอดคล้องกับปัญหาความต้องการ การกระตุ้นให้เกิดความตระหนักและการให้
ความสาคัญในการจัดการความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง ดาเนินการกระตุ้นจิตสานึก
อย่างสม่าเสมอ สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ บูรณาการงานที่เกี่ยวข้อง เน้นการมีส่วน
ร่วมของชุมชน
Article Details
References
กรุงเทพฯ : กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
กรมการท่องเที่ยว. [ออนไลน์]. (2561). ยุทธศำสตร์พัฒนำกำรท่องเที่ยว. เข้าถึงได้
จาก : http://www.tourism.go.th.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2558). ยุทธศำสตร์กำรท่องเที่ยวไทย พ.ศ.2558-
2560. กรุงเทพฯ.
กาญจน์นภา พงศ์พนรัตน์. (2560). ภำพรวมสถำนกำรณ์และแนวโน้มกำร
พัฒนำกำรท่องเที่ยวโลก อำเซียนและไทย. วิทยาลัยนวัตกรรม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ขวัญชนก นัยจรัญ และ กฤษณา ชาญณรงค์. (2561). บทบำทหน้ำที่ของมรดกภูมิ
ปัญญำทำงวัฒนธรรมในกำรสร้ำง อัตลักษณ์ชุมชน ตำบลหนองกะท้ำว
อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก. Veridian E-Journal, Silpakorn
University. ปีที่ 11 (ฉบับที่ 3) : หน้า 329-344.
คณะทางานพัฒนาข้อมูลรายงานภาวะเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวรายไตรมาส สานักงาน
ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2559). รำยงำนภำวะเศรษฐกิจ
ท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : เอ็กเซลเลนท์ บิสเนส แมเนจเม้นท์.
มัทยา ศรีพนา. (2557). สถำนกำรณ์กำรท่องเที่ยวไทย เมื่อก้ำวเข้ำสู่ประชำคม
เศรษฐกิจอำเซียนในปี 2558 (The State of Thai Tourism in
Approach of ASEAN Economic Community in 2015). สานัก
วิชาการ สานักงานเลขาธิการวุฒิสภา. ปีที่ 4 (ฉบับที่ 17).
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. [ออนไลน์]. (2560). การท่องเที่ยว. เข้าถึงได้จาก :
https://th. wikipedia.org.
วิสูตร ฉัตรชัยเดช. [ออนไลน์]. (2560). กำรป้องกันอำชญำกรรมเชิงรุกโดยทฤษฎี
ส ำม เห ลี่ย ม อ ำช ญ ำก ร รม . เข้าถึงได้จ าก : http://ooty191-
thaicop.blogspot.com/2011/02/ proactive-crime-prevention-bycrime.
html?m=1.
โสภา จานงค์รัศมี, ธัชไท กีรติพงค์ไพบูลย์ และ กัลย์ธีรา ชุมปัญญา. (2558).
ท่องเที่ยวทั่วไทย สร้ำงรำยได้ทั่วถึง. วารสารเศรษฐกิจและสังคม
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ปีที่ 52 (ฉบับ
ที่ 1) : หน้า 8-16.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. [ออนไลน์]. (2561). แนวโน้มเศรษฐกิจและกำรท่องเที่ยวปี
2 5 6 1 . เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก : http://ttaa.or.th/wpcontent/
uploads/2017/09/เ ศ ร ษ ฐ กิจ แ ล ะ ก า ร ท่อ ง เ ที่ ย ว
18012561.pdf.
อรุณรุ่ง ปภาพสิษฐ และคณะ. (2555, กรกฎาคม-ธันวาคม). รูปแบบกำรสร้ำง
จิตสำนึกในกำรพัฒนำชุมชน. วารสาร
วิจัยราชภัฏพระนคร. ปีที่ 7 (ฉบับที่ 2) : หน้า 98-110.