กำเนิดและพัฒนาการของตลาดสดท้องถิ่นและผู้ค้ารายย่อยใน จังหวัดอุบลราชธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความเรื่องกาเนิดและพัฒนาการของตลาดสดท้องถิ่นและผู้ค้ารายย่อย
ในจังหวัดอุบลราชธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากาเนิดและพัฒนาการของตลาดสด
ท้องถิ่นและผู้ค้ารายย่อย และการปรับตัวของผู้ค้ารายย่อยท้องถิ่นในจังหวัด
อุบลราชธานีกรณีศึกษา 3 ตลาด คือ ตลาดสดเทศบาล 1 เดชอุดม ตลาดสด
องค์การบริหารส่วนตาบลโคกชาแระ และตลาดสดเทศบาลตาบลบุณฑริก ผู้วิจัยใช้
แนวทางในการศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ โดยวิธีการค้นคว้าจากหลักฐานข้อมูลที่
เกี่ยวข้อง ผลการศึกษา ผู้วิจัยพบว่าตลาดสดเทศบาล 1 เดชอุดม ตลาดสดองค์การบริหาร
ส่วนตาบลโคกชาแระ และตลาดสดเทศบาลตาบลบุณฑริก มีกาเนิดและพัฒนาการจาก
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการบริหารราชการทั้งส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น คือ
สุขาภิบาล เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบล รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงสภาพ
บริบททางสังคม การเมือง ที่กาหนดนโยบายพัฒนาเมืองให้มีเมืองหลัก เมืองรอง
โดยการสร้างและปรับปรุงเส้นทางการคมนาคมให้เชื่อมโยงจากจังหวัดอุบลราชธานีสู่
อาเภอเดชอุดม อาเภอทุ่งศรีอุดม และอาเภอบุณฑริก ผู้ค้ารายย่อยส่วนใหญ่มีอาชีพ
ดั้งเดิมเป็นเกษตรกร เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจและสังคมตั้งแต่แรกค้าจนถึง
ปัจจุบันโดยมีร้านค้าทุนขนาดใหญ่เข้ามาแต่ไม่ได้ส่งผลกระทบมากนัก ผู้ค้ารายย่อยมี
การปรับตัวในการค้าขายเพื่อดารงชีวิตแบบพอเพียง ไม่หวังผลกาไรสูงในการค้าขาย
และผู้ซื้อได้สินค้าที่มีคุณภาพและราคาไม่แพง ดังนั้นตลาดสดท้องถิ่นที่ศึกษาจึงมีคุณค่า
และมีความสาคัญในฐานะตลาดสดของคนในชุมชนท้องถิ่น
Article Details
References
เมืองอุบลรำชธำนี-วำรินชำรำบ. วิทยานิพนธ์ปริญญาการวางแผนภาค
และเมืองมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวางผังเมือง บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ระลึก ธานี (บรรณาธิการ). (2527). ประวัติมหำดไทยส่วนภูมิภำค จังหวัด
อุบลรำชธำนี. อุบลราชธานี : วิทยาการพิมพ์.
ระลึก ธานี. (2554). ควำมเป็นมำของเมืองและอำเภอต่ำง ๆ ในบริเวณจังหวัด
อุบลรำชธำนี จังหวัดยโสธร และจังหวัดอำนำจเจริญ (พุทธศักรำช
2335-2550). อุบลราชธานี :ยงสวัสดิ์อินเตอร์กรุ๊ป.
ราชกิจจานุเบกษา. (2552). เล่ม 126 ตอนที่ 87 ก วันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ.
2552 อ้างถึงในศุภชัย วรรณเลิศสกุล. “ข้อพิจารณาด้านกฎหมายในการ
จัดการพื้นที่ตลาดการค้าชายแดนช่องตาอู ขององค์การบริหารส่วนตาบล
โพนงาม อาเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี.”วำรสำรมนุษยศำสตร์และ
สังคมศำสตร์. 6, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2558), น. 135. ศิลปากร, กรม.
(ม.ป.ป.). คู่มือแนะนำเอกสำรจดหมำยเหตุจังหวัดอุบลรำชธำนี.(เอกสารกรมราช
เลขาธิการรัชกาลที่ 5-รัชกาลที่ 7).
สมศรี ชัยวณิชยา. (2548). นโยบำยกำรพัฒนำภำคตะวันออกเฉียงเหนือของ
รัฐบำลไทยระหว่ำง พ.ศ. 2494-2519. วิทยานิพนธ์ปริญญา
อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมศรี ชัยวณิชยา. (2561). รำยงำนกำรวิจัย ฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กำเนิดและ
พัฒนำกำรตลำดสดจังหวัดอุบลรำชธำนี. กรุงเทพฯ : สานักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจัย.
สมศรี ชัยวณิชยา. (2562). รำยงำนกำรวิจัย ฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กำเนิดและ
พัฒนำกำรตลำดสดท้องถิ่นและผู้ค้ำรำยย่อยจังหวัดอุบลรำชธำนี.
กรุงเทพฯ : สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
สุวิดา ธรรมมณีวงศ์. (2557). “เศรษฐกิจแห่งการอยู่ร่วมกัน กับธุรกิจทางเลือก.”
วำรสำรวิชำกำร Veridian E-Journal ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์
และศิลปะ. 7, 3 (กันยายน– ธันวาคม 2557). น. 1041- 1054.
สุวิทย์ ธีรศาศวัต และคณะ.(2561). รำยงำนวิจัยฉบับสมบูรณ์ กำเนิดและ
พัฒนำกำรของตลำดสดและผู้ค้ำรำยย่อยในภำคอีสำน. กรุงเทพฯ :
สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
สุวิทย์ ธีรศาศวัต และคณะ. (2562). กำเนิดและพัฒนำกำรของตลำดสดและผู้ค้ำ
รำยย่อยในชนบทภำคอีสำน. (เอกสาร ประกอบการสัมมนา วันศุกร์ที่
21 มิถุนายน 2562 ณ ห้องประชุม 2 อาคาร 5 คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น : สานักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจัย.