การส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต และเพื่อเสนอแนวทางการส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของกลุ่มบุคคลากรดังกล่าว งานวิจัยเชิงคุณภาพนี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ด้วยเทคนิค Micro-Moment Time Line และกำหนดคำถามไว้ล่วงหน้า โดยเลือกผู้เข้าร่วมการวิจัยแบบเจาะจง ประกอบด้วยบุคลากรชาวไทยและชาวต่างประเทศ จำนวน 46 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยอาศัยแนวคิดและทฤษฎีประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ผลการวิจัยพบว่า บุคลากรสายสนับสนุนเข้าใจหน้าที่ความรับผิดชอบในงาน การปฏิบัติงานเป็นเวลานานทำให้มีความชำนาญ สะท้อนความเชื่อถือและความมั่นใจด้านคุณภาพ ต้องการแรงจูงใจเพื่อให้เกิดความกระตือรือร้นพร้อมปรับเปลี่ยน การบริหารงานมุ่งเน้นผู้รับบริการด้วยความตั้งใจ มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีจิตอาสา ทำงานร่วมกันเป็นทีม มีปฏิสัมพันธ์ตามความสัมพันธ์ส่วนบุคคล ปฏิบัติตามกฎระเบียบเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จ ผู้ที่ฏิบัติงานเป็นเวลานานต้องเป็นพี่เลี้ยงถ่ายทอดความรู้ ช่วยวางแผนระยะยาว สร้างแรงจูงใจและปรับทัศนคติที่ไม่ดีต่อการปฏิบัติงาน คณะวิเทศศึกษา ควรส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติงาน การศึกษาดูงาน การอบรม การสัมมนา และการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานให้แก่บุคลากรสายสนับสนุน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความและความคิดเห็นที่แสดงในบทความ เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ และคณะผู้จัดทำแต่อย่างใด
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิเทศศึกษา ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิเทศศึกษา หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิเทศศึกษา ก่อนเท่านั้น
References
กองนโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนสำนักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2561). แผนพัฒนามหาวิทยาลัย. https://shorturl.asia/fmY7w.pdf.
กุสุมา แย้มเกตุ. (2561). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการใน สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ. [วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]. ฐานข้อมูลวิจัย (Thailis).
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2560). สมรรถนะหลัก. https://shorturl.asia/fD5bV.pdf.
ธัญญ์ชนาธร ธัญญ์ชัญญาธารก์. (2561). การศึกษาสภาพและแนวทางการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยพะเยา. [วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยพะเยา]. ฐานข้อมูลวิจัย (Thailis).
ภารดี เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา. (2561). แนวทางการส่งเสริมการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยมหิดลของบุคลากรสาย สนับสนุน มหาวิทยาลัยมหิดล. [วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยมศิลปากร]. ฐานข้อมูลวิจัย (Thailis).
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2565). คู่มือพนักงานมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. https://shorturl.asia/tV8bo.pdf.
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (2554). ประกาศหลักเกณฑ์การกำหนดสมรรถนะการปฏิบัติงาน. https://shorturl.asia/PdeYs.pdf.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2565). สมรรถนะ. https://shorturl.asia/g2lKo.pdf.
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2565). คู่มือพนักงานใหม่. https://shorturl.asia/twPR3.pdf.
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (2562). การกำหนดสมรรถนะสำหรับข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. https://shorturl.asia/uIMLz.pdf.
มหาวิทยาลัยมหิดล. (2561). การประเมินสมรรถนะมหาวิทยาลัยมหิดล. https://shorturl.asia/zJk6U.pdf.
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. (2562, 8 มกราคม). สมรรถนะหลักของบุคลากรมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. https://shorturl.asia/k7TIY.pdf.
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2561). คู่มือการประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงาน. https://shorturl.asia/wEa8b.pdf.
มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2565). ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง มาตรการประเมินผลการปฏิบัติงานและการดำเนินการกับผู้ปฏิบัติงานที่มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำของมหาวิทยาลัยศิลปากร . https://shorturl.asia/51TnL.pdf.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2565, 12 มกราคม). พจนานุกรมสมรรถนะมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. https://shorturl.asia/4Ah8C.pdf.
เลเกีย เขียวดี. (2561). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือตอนล่าง. [วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก, มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร]. ฐานข้อมูลวิจัย (Thailis).
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2553, 30 พฤศจิกายน). คู่มือการกำหนดสมรรถนะในราชการพลเรือน: คู่มือสมรรถนะหลัก. https://shorturl.asia/xDq41
สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ. (2563). นโยบายและยุทธศาสตร์การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2563 - 2570. https://shorturl.asia/oMkm9.pdf.
อรสา สระทองแก้ว. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของบุคลากรสายสนับสนุนและผู้ช่วยวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. [วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยศิลปากร]. ฐานข้อมูล วิจัย (Thailis).
Alderfer, C. P. (1972). Human needs in oganizational settings. The Free Press of Glencoe.
Herzberg, F. a. (1959). The motivation to work. John Wiley and Sons.
Kvale. S. (1996). Interviews: an introduction to qualitative research interviewing. Sage.
Maslow, A. (1970). Motivation and personnality. Harper and Row.
McClelland, D. (1985). Human motivation. Cambridge.
McGregor & Douglas. (1969). The human side of enterprise. McGraw-Hill.