การศึกษาเปรียบเทียบคำเสริมกริยาบอกทิศทาง กลุ่ม“进 (jìn)”ในภาษาจีน และกลุ่ม “เข้า” ในภาษาไทย

Main Article Content

ยุพิน กรัณยเดช

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยนี้ใช้ทฤษฎีภาษาศาสตร์ปริชานอธิบายเปรียบเทียบหน่วยเสริมกริยาบอกทิศทางกลุ่ม “进(jìn)” ในภาษาจีนและหน่วยเสริมกริยาบอกทิศทางกลุ่ม “เข้า” ในภาษาไทย ผลการวิจัยพบว่า นอกจากกลุ่ม “进(jìn)” และกลุ่ม “เข้า” จะบอกทิศทางการเคลื่อนที่ที่เหมือนกันและบอกผลการทำกริยาที่ต่างกันแล้ว กลุ่ม “进(jìn)” ยังมีความหมายในเชิงอุปมาอุปไมย ส่วนกลุ่ม “เข้า” ยังสามารถบอกสภาพและใช้ประกอบเป็นสำนวนได้ เมื่อตรวจสอบฐานข้อมูลพบว่าคำลักษณนามและคำกริยาบางคำสามารถปรากฎร่วมกับกลุ่ม“เข้า” แต่ไม่สามารถปรากฎร่วมกับกลุ่ม“进(jìn)” เมื่อสื่อเป็นอีกภาษาหนึ่ง กลุ่ม “เข้า”จะมีคำที่ใช้แทนมากกว่ากลุ่ม “进(jìn)” หน่วยเสริมกริยาสองกลุ่มดังกล่าวจะใช้แทนกันในอีกภาษาหนึ่งได้หรือไม่นั้นจะเกี่ยวข้องกับความหมายทางไวยากรณ์ ความหมายกลาง จุดที่ผู้พูดมองเหตุการณ์ จุดที่ผู้พูดให้ความสนใจและจุดเด่นของเหตุการณ์ในความรู้สึกของผู้พูด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Lakoff, G. & Johnson, M. (2003). Metaphors we live by. Chicago: The University of Chicago. (Original work published 1980)

查·勾吉迪。(1985)。翻译者栾文华。判决。北京:长江文艺出版社。

蓝 纯。(2005)。认知语言学与隐喻研究。北京:外语 教学与研究出版社。

老 舍。(2009)。骆驼祥子(2版)。北京:人民文学出版 社。

刘月华。(2008)。趋向补语通释(2版)。北京:北京语言大学出版社。

吕叔湘。(2004)。现代汉语八百词,增订本(13版)。北京:商务印书馆。

吴素兰。(2012)。汉泰动词后“上”组与“ขึ้น”组、“下” 组与“ลง”组对比研究,北京语言大学研究生院博士论文,北京。

杨德峰。(2009)。趋向补语的认知和习得研究,北京语言大学研究生院博士论文,北京。

张 斌。 (2001)。现代汉语虚词词典。北京:商务印书馆。

张 敏。 (1998)。认知语言学与汉语名词短语。北京:中国社会科学出版社。

赵秀芬。(2000)。汉泰趋向补语对比研究,北京语言大学人文学院硕士论文,北京。

ชัชวดี ศรลัมพ์. (2538). การศึกษามโนทัศน์ของคำว่า เข้า. วิทยาพนธ์อักษรศาสตรดุษฏีบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชาติ กอบจิตติ. (2524). คำพิพากษา, กรุงเทพฯ: ต้นหมาก.

เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ. (2550). พจนานุกรมจีนไทย ฉบับใหม่ (ฉบับพิมพ์ตัวย่อ), กรุงเทพฯ: รวมสาส์น (1977).

เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ. (2549). พจนานุกรม ไทย-จีน-อังกฤษ ฉบับ 60,000 คำ, กรุงเทพฯ: รวมสาส์น (1977).

老舍.(2533). เนียน ผู้แปล. ชีวิตเลือกไม่ได้ของสามัญชนคนลากรถ, กรุงเทพฯ: รวมทรรศน์.

นววรรณ พันธุเมธา. (2527). ไวยากรณ์ไทย, กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองสาส์น.

พัน เต๋อ ติ่ง.(2527). การใช้คำเสริมกริยาบางคำ, วารสารอักษรศาสตร์, (16), 73-96.

วิจินตน์ ภาณุพงศ์. (2543). โครงสร้างภาษาไทย: ระบบไวยากรณ์, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

หทัย แซ่เจี่ย. (2542). การเปรียบเทียบคำเสริมกริยาบอกทิศทาง“SHANG” “XIA” ในภาษาจีนกลางกับคำภาษาไทยในลักษณะเดียวกัน, วิทยาพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.