เรื่องเล่า: ประเพณีลอยเรือชาวเล เกาะสิเหร่ แหลมตุ๊กแก ตำบลรัษฎา จังหวัดภูเก็ต

Main Article Content

กิติมาพร ชูโชติ

บทคัดย่อ

ความเชื่อและความศรัทธาของชาวเลเกี่ยวกับการทำพิธีลอยเรือ ก็คือ การลอยบาป ตลอดจนเป็นการเสี่ยงทายในการประกอบอาชีพ กล่าวคือ การลอยเรือเป็นเครื่องกำหนดว่า การประกอบอาชีพจะหรืออัตคัดขาดแคลน โดยดูจากเรือที่ลอยเป็นสำคัญ คือถ้าเรือออกไปแล้ว ลอยออกไปไม่ถูกคลื่นซัดเข้าหาฝั่งเดิม แสดงว่าชาวเกาะทั้งหลาย จะเป็นผู้โชคดี การประกอบอาชีพคือการจับปลา จะจับได้มาก การหากินจะไม่ฝืดเคือง แต่ถ้าเรือถูกคลื่นซัดเข้าหาฝั่ง จะเป็นเครื่องชี้ว่า การทำมาหากินจะฝืดเคือง ชาวเกาะจะประสบโชคร้าย จากภัยธรรมชาติหรืออาจจะประสบอุบัติเหตุถึงชีวิต

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ดาฤนัย จรูญทอง, 2550. ประวัติศาสตรชุมชนอูรักลาโว้ยเกาะหลีเป๊ะ จังหวัดสตูล ระหว่างปี พ.ศ. 2493-2549. การค้นคว้าอิสระ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นฤมล ขุนวีช่วย และมานะขุนวีช่วย. (2553). รายงานวิจัย ชีวิตและวัฒนธรรมชาวเลอูรักลาโว้ยแห่งทะเลอันดามัน. สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม.

ประเทือง เครือหงส์. (2519). ชาวน้ำ (ชาวเล) ในเมืองไทย. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.

พัน รักดี. โต๊ะหมอประจำหมู่บ้านแหลมตุ๊กแก. สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2558.

มณี ประโมงกิจ.สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2558.

มูลนิธิสืบนาคะเสถียร. กลุ่มชาติพันธุ์ “ชาวเล” ในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฏาคม 2559 จาก http://www.seub.or.th/index.php?option=com_ content&view =article&id=187:libery&catid=61:2009-11-12-08-41-17&Itemid=76

สมชาติ ประโมงกิจ. สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558.

สยามฟรีสไตร์. (2008). ชาวเลกลุ่มอูรักลาโว้ย สังคมที่กำลังเปลี่ยนแปลงไป. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฏาคม 2559 จาก http://www.siamfreestyle.com/forum /index.php?showtopic=1633

อำนวย ประโมงกิจ. ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านแหลมตุ๊กแก. สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2558.

Siamsouth.com. (2553). กลุ่มชาติพันธุ์ชาวเล "อูรักลาโว้ย". สืบค้นเมื่อ 28 กรกฏาคม 2559 จาก http://www.siamsouth.com/smf/index. php?topic=16455.0