Needs Analysis of Communicative English through Community-Based Tourism: A Case Study of Koh Klang Community in Krabi Province
Main Article Content
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารบนฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชนในชุมชนเกาะกลาง จังหวัดกระบี่ งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดย การสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างและการสัมภาษณ์กลุ่ม โดยสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการท่องเที่ยวในชุมชนจำนวน 11 คน ประกอบด้วยผู้ประสานงานการท่องเที่ยวชุมชน 1 คน และผู้ประกอบการในชุมชน 10 คน ผลการศึกษาพบว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการท่องเที่ยวในชุมชนมีความต้องการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารบนฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเรื่องที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตชุมชน สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน อาหารท้องถิ่น การประกอบอาชีพของชาวบ้าน ทั้งนี้ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการท่องเที่ยวในชุมชนมีความต้องการ สื่อการเรียนรู้ที่มีลักษณะเป็นสมุดภาพสองภาษา (bilingual Thai-English photo booklet) เป็นสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เนื้อหาด้านในมีข้อความภาษาอังกฤษ คำอ่านภาษาไทย และคำแปลภาษาไทย เน้นรูปภาพและคำศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวโดยเฉพาะคำศัพท์เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวชุมชน ผลิตภัณฑ์และบริการเชิงวัฒนธรรมของชุมชน ซึ่งประโยชน์ของงานวิจัยชิ้นนี้เป็นแนวทางเพื่อ 1) ออกแบบสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้สอดคล้องกับความต้องการของคนในชุมชน 2) เพิ่มคุณภาพด้านการบริการของชุมชนท่องเที่ยว 3) ตอบสนองนโยบายด้านการท่องเที่ยวชุมชนของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาภายใต้คำขวัญ “Amazing Thailand, Go Local”
Article Details
Statements and opinions expressed in articles herein are those of the authors and do not necessarily reflect the position of the editors or publisher.
Article, information, text, image, etc. which are published in Journal of International Studies, belong to Journal of International Studies. If anybody or any organization would like to use part or whole of them, they must receive written permission from Journal of International Studies before usage.
References
พจนา สวนศรีและสมภพ ยี่จอหอ. (2556). คู่มือมาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชน. เชียงใหม่ : หจก.วนิดาการพิมพ์.
ธญวรรณ ก๋าคำ. (2561). เรื่องการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวสำหรับชุมชนกลุ่มธนบุรี กรุงเทพมหานคร. วารสารสารสนเทศ, 17(2), 61-70.
ปัทมา สุวรรณเทศ. (2555). การสร้างคู่มือภาษาอังกฤษเบื้องต้นสำหรับผู้ประกอบการโฮมสเตย์บ้านนาทุ่ม หนามแท่ง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร, 3(2), 139-149.
พิกุล สายดวง และ ชญาณ์นันท์ ปิติกรพวงเพชร. (2560). การศึกษาความต้องการในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อใช้ในการสื่อสารทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ของกลุ่มอาชีพท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ กรณีศึกษาชุมชนบ้านซะซอม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 8(1), 284-300.
วีรพล ทองมา. (2559). การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community-Based Tourism: CBT) สำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนในเขตที่ดินป่าไม้. สืบค้นเมื่อ 24 กรกฎาคม 2562 จาก www.dnp.go.th/fca16/file/i49xy4ghqzsh3j1.doc
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (5) ประเด็นการท่องเที่ยว (พ.ศ. 2561 - 2680). สืบค้นมื่อ 13 ธันวาคม 2562 จาก http://nscr.nesdb.go.th/wpcontent/uploads/2019/04/05-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7.pdf
สิงหนาท น้อมเนียน. (2558). ภาษาอังกฤษสำหรับผู้ประกอบการแพเพื่อการท่องเที่ยวในจังหวัดกาญจนบุรี. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรินท์ติ้ง จำกัด.
สุภาพร เจริญสุข, ปิยะพัฒน์ ช่วยอินทร์, และ ตรีศิลป์ เวชโช (2561). ปัญหาและความจำเป็นในการใช้ภาษาอังกฤษของพนักงานขายทัวร์ในจังหวัดตรัง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 12(28), 256-269.
สุวิมล ว่องวานิช. (2550). การประเมินความต้องการจำเป็น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
องค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่. (ม.ป.ป.). แผนพัฒนาท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดกระบี่ สืบค้นมื่อ 28 กรกฎาคม 2562 จาก http://democv.com/demoweb/krabi/km/download/?id=52&file=files/com
Dudley-Evans, T. & St. John, M.J. (1998). Developments in ESP:A Multidisciplinary Approach. Cambridge: Cambridge University Press.
Harsono, Y.M. (2007). Developing learning materials for specific purposes. TEFLIN, 18(2), 169-179.
Hutchinson, T. & Waters, A. (1987). English for Specific Purposes. Cambridge: Cambridge University Press. (n.d.).
B, T. (1998). Materials Development in language Teaching. Cambridge: Cambridge University Press.
B, T. (2012). Materials Development for language learning and teaching. (2), 143-179.
D, J. (2562, สิงหาคม 1). เกี่ยวกับ Journey D. Retrieved from http://journey-d.com/pages/about-us
Dudley-Evans, T. &. (1998). Developments in ESP:A Multidisciplinary Approach. Cambridge: Cambridge University Press.
Harson, Y. (2007). Developing learning materials for specific purposes. TEFLIN, 18(2), 169-179.
Hutchinson, T. &. (1996). English for Specific Purposes: A Leaning-Centered Approach. Cambridge : Cambridge University Press.
McDonough, C. (1984). ESP in Perspectives. London: Hazell Watren and Viney Limited.
S, N. (14). Thai entrepreneurs' needs of English language for rafl service business. Silpakorn University Journal of Social Sciences, Humanites, and Arts(3), 101-108.
S, N. (21). Thai entrepreneurs’ needs of English language learning materials for the. Humanities Journal(2), 243-275.
Strevens. (1988). ESP after twenty years: a re-appraisal. Singapore: SEAMEO Regional Language Center.
แก้วพันช่วง, ส. (2550). การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้กิจกรรมภาษาเพื่อการสื่อสาร. In (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร: กรุงเทพฯ.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2562). ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชน. Retrieved กรกฎาคม 30, 2562, from https://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=9680
กรุงเทพธุรกิจ. (2562). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์. Retrieved กรกฎาคม 28, 2562, from https://www.bangkokbiznews.com/pr/detail/15038
ทองมา, ว. (n.d.). การท่องเที่ยวโดยชุมชน(Community Based Tourism:CBT)สำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนในเขตที่ดินป่าไม้. Retrieved กรกฎาคม 24, 2562, from www.dnp.go.th/fca16/file/i49xy4ghqzsh3j1.doc
น้อมเนียน, ส. (2557). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรินท์ติ้ง จำกัด.
พัวพงศกร, ภ. (2562). Thailand biennele krabi บุกน้ำลุยทะเลไปดูงานศิลป์เจ๋งๆทั่วกระบี่. Retrieved กรกฎาคม 20, 2562, from https://readthecloud.co/thailand-biennale-krabi-2018
ว่องวานิช, ส. (2550). การประเมินความต้องการจำเป็น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวรรณเทศ., ป. (2555). การสร้างคู่มือภาษาอังกฤษเบื้องต้นสำหรับผู้ประกอบการโฮมสเตย์บ้านนาทุ่ม หนามแท่ง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย. (2), 139-149.
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน(องค์การมหาชน). (2562). สัมภาษณ์พิเศษ ' พันเอก ดร. นาฬิกอติภัค แสงสนิท' ผู้อำนวยการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน(องค์การมหาชน). Retrieved กรกฎาคม 25, 2562, from https://www.tatreviewmagazine.com/article/interview-with-dasta-director/
องค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่. (n.d.). แผนพัฒนาท่องเที่ยวชุมชนกระบี่. Retrieved กรกฎาคม 28, 2562, from http://democv.com/demoweb/krabi/km/download/?id=52&file=files/com¬¬-