การพัฒนาพื้นที่เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำ : กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
Main Article Content
บทคัดย่อ
ที่ผ่านมาจังหวัดร้อยเอ็ดได้แก้ไขปัญหาความยากจนตามนโยบายรัฐบาล แต่ก็ยังพบว่าประชาชนในจังหวัดร้อยเอ็ดยังคงเผชิญหน้ากับความยากจน จึงได้นำข้อมูลจากเครื่องมือ TP MAP สำหรับการสำรวจหาคนจน ปัญหาของความยากจน ต่อยอดสู่การพัฒนาความเป็นอยู่ของคนจนให้มีประสิทธิภาพ ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) วิเคราะห์หาสาเหตุ และปัญหาวิเคราะห์รูปแบบที่ก่อให้เกิดความยากจนในกลุ่มเป้าหมาย 2) ออกแบบโมเดลแก้จนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและบริบทของคนจนกลุ่มเป้าหมาย และสามารถส่งต่อความช่วยเหลือคนจนให้กับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม ผลการวิจัย พบว่า สาเหตุของความยากจน เกิดจากการไม่มีที่ดินทำกิน ผลผลิตการเกษตรตกต่ำ การเข้าไม่ถึงแหล่งทุน ขาดแหล่งน้ำในการทำการเกษตร และปัญหาสุขภาพ สำหรับการออกแบบโมเดลแก้จนในพื้นที่ต้นแบบตำบลดงครั่งน้อย เพื่อให้ครัวเรือนยากจนมีอาชีพมีรายได้ สามารถพึ่งพาตนเองภายใต้โมเดล เกษตรพามี ผู้นำดีพาอยู่ ดังนี้ 1) การเลี้ยงไก่ไข่แบบกรงตับ 2) การปลูกผักแบบยกแคร่ และ 3)โมเดลผู้นำดีพาอยู่
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
Maesae, A. (2015). Promoting sustainable livelihoods in rural areas through community-based development. Journal of Social Development, 17(1), 89–110. [in Thai]
Mankong, C. (2021). Dimensions of poverty and the roots of inequality and sustainability in development. Journal of Economics and Public Policy, 12(24), 18-48. [in Thai]
Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. (2020). White paper on the Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. Addressing poverty effectively towards creating opportunities for well-being (2nd ed.). Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. [in Thai]
Office of the National Economic and Social Development Board. (2022). Report on the analysis of the situation of poverty and inequality in Thailand in 2022. Office of the National Economic and Social Development Council Office of the Prime Minister. [in Thai]
Pongsart, K., Kaewhanam, P., Hasan, J., Sirisuwun, A., Kaewhanam, K., Kamolkhet, S., Intanil, J., Pongsiri, A., Kahaban, N., & Dononbao, A. (2022). Final report of the research project: Comprehensive and precise area development to solve poverty issues: A case study of Roi Et Province. Science, Research, and Innovation Promotion Fund and the Area Development Management Unit. [in Thai]
Santipolvut, S. (2017). Economic development theory and case studies. Kasetsart University. [in Thai]
Science and Technology Division of Royal Thai Embassy in Beijing, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. (2021). China's path to solving poverty. Thai-Chinese Science Maitri Journal, 3(5), 7. [in Thai]
Sihaboonli, C. (2024, March). The dimensions of poverty in Thailand. Articles on Thailand [Radio broadcast]. Parliament and Bureau of Academic Affairs, Secretariat of the House of Representatives. [in Thai]
Sumalee, S. (2017). Theory of economic development and case studies. Kasetsart University. [in Thai]
Thailand Development Research Institute Foundation. (2007). Labor movement between areas of industries and occupations. Thailand Development Research Institute Foundation. [in Thai]
Thailand Development Research Institute. (2008). How to solve poverty: Competition, distribution, or welfare (TDRI Report No. 54). Thailand Development Research Institute. [in Thai]