การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ตามอัตลักษณ์วัฒนธรรม ผลิตภัณฑ์ชุมชนผ้าปักแซวอำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

เอมอร แสนภูวา

บทคัดย่อ

        งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ศึกษาความเป็นมาและวิเคราะห์สภาพปัญหาของชุมชน  สร้างรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์ พัฒนาคน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าเสื้อปักแซว และผลิตภัณฑ์ด้านการท่องเที่ยวของชุมชน และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่าชุมชนยังขาดการพัฒนาด้านท่องเที่ยวในหลายด้าน จึงใช้แนวคิดการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม  การพัฒนากลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด และการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมมาพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน โดยสร้างรูปแบบท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ ผ่านกิจกรรม 8 กิจกรรม  และ ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ทำให้เกิดการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่มีศักยภาพในด้านบริหารจัดการท่องเที่ยว  เกิดแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนที่เป็นรูปธรรม พัฒนาโฮมสเตย์  ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก นักสื่อความหมาย เครือข่ายทำงานท่องเที่ยวชุมชน  ส่งเสริมพัฒนาอาหารพื้นบ้านชุมชน โปรแกรมการท่องเที่ยว และกลยุทธ์การตลาดรวมถึงช่องทางการตลาดที่มีประสิทธิภาพ ผลจากการพัฒนาดังกล่าวนี้จึงทำให้มีจำนวนนักท่องเที่ยวและเกิดรายได้จากการท่องเที่ยวชุมชนเพิ่มขึ้น กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่จะสามารถพัฒนาให้เกิดความยั่งยืนต่อไปได้

Article Details

How to Cite
แสนภูวา เ. (2023). การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ตามอัตลักษณ์วัฒนธรรม ผลิตภัณฑ์ชุมชนผ้าปักแซวอำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ. มนุษยสังคมสาร (มสส.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 21(3), 20–39. https://doi.org/10.14456/jhusoc.2023.29
บท
บทความวิชาการ

References

Department of Tourism. (2018). Community tourism standards (1st ed.).Chulalongkorn University Press. [in Thai]

Jittangwattana, B. (2005). Tourism industry. Place and Design. [in Thai]

Klinmuenwai, K. (2018). Guidelines for support cultural tourismdestination at Tama-O community Mueng District Lampang

Province. Journal of Liberal Arts, Maejo University, 6(1), 131 - 148. [in Thai]

Maneerot, N. (2017). Community based tourism management. Journal of International and Thai Tourism, 13(2), 25 - 46. [in Thai]

National Statistical Office. (2019). Summary of the results of the survey of the economic and social conditions of households in the first

months of 2019, Ministry of Digital Economy and Society. [in Thai]

Nitikasetsoontorn, S. (2014). The success factors of community –based tourism in Thailand. National Institute of Development Administration (NIDA). [in Thai]

Pichayakul, P., Mahachaiwong, N., & Srisawat, J. (2020). Marketing mixed strategies development of Baan Lai Kaew Karen weaving textile group, Chiang Mai Province. Area-Based Development Research Journal, 12(5), 357 - 372. [in Thai]