พรรณพฤกษาและนานาสัตว์: บทบาทหน้าที่ในวรรณคดีอีสาน เรื่อง ลำนกเต็นด่อน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งศึกษาวรรณคดีอีสานประเภทลำ เรื่อง นกเต็นด่อน ปริวรรตและเรียบเรียงโดยภูวดล อยู่ปาน กลุ่มงานอนุรักษ์เอกสารโบราณ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเรียกชื่อชนิดและบทบาทหน้าที่ของพืชและสัตว์ จากการศึกษาพบว่าลำนกเต็นด่อนมีกลวิธีการเรียกชื่อพืชและสัตว์ ๒ ลักษณะ คือ เรียกแบบเจาะจงชนิดและเรียกแบบไม่เจาะจงชนิด ในส่วนของบทบาทหน้าที่ของพืชและสัตว์พบ ๔ ลักษณะ คือ เพื่อแสดงวิถีชีวิต เพื่อแสดงอารมณ์ เพื่อเป็นอนุภาคของสิ่งวิเศษ และเพื่อดำเนินเนื้อเรื่อง ทั้งนี้จากการศึกษาสันนิษฐานว่าผู้แต่งเลือกใช้พืชและสัตว์นานาชนิดเพื่อวัตถุประสงค์ในการดำเนินเนื้อเรื่องให้น่าสนใจ มีวรรณศิลป์ สะเทือนอารมณ์ และแสดงภูมิรู้ของผู้แต่ง ซึ่งสะท้อนภาพวิถีชีวิตของผู้คนทั้งยังช่วยบันทึกศัพท์เกี่ยวกับพืชและสัตว์ไว้เป็นอย่างดี
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
Pagdee, S. (2008). Nokkratendon: An analysis of beliefs and social reflection picture. (Thesis). Naresuan University. [in Thai]
Punnotok, T. (2019). Comparative analysis of rigional literature (6th ed.). Ramkhamhaeng University Press. [in Thai]
Punnotok, T. (2020). North-eastern Thai literature (6th ed.). Ramkhamhaeng University Press. [in Thai]
Soontherotoke, S. (2020). Literary appreciation (3rd ed.). Ramkhamhaeng University Press. [in Thai]
Uttaranit, P., & Hongsuwan, P. (2019). Horses in I-san literature: Roles and cultural meanings. Journal of Graduate Study in Humanities and Social Sciences, 5(2), 1-28. [in Thai]
Woradejnaiyana, K., & Hongsuwan, P. (2019). Snake in Isan literature: Metaphors and cultural interpretation. Humanities and Social Sciences, 36(3), 278-303. [in Thai]
Woradejnaiyana, K., & Pengprapha, P. (2021). Plants: Motifs in Isaan folktales and the study of cultural meanings. Silpakorn University Journal, 41(6), 41-52. [in Thai]
Yoopan, P. (2019). Lam Noktendon. Ancient Document Conservation Group, The Research Institute of Northeastern Art and Culture, Maha Sarakham University. [in Thai]