การศึกษาบันทึกเกี่ยวกับอาณาจักรละโว้ในเอกสารจีนสมัยราชวงศ์หมิง
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแปล เรียบเรียงและศึกษาบันทึกเกี่ยวกับอาณาจักรละโว้ในเอกสารจีนสมัยราชวงศ์หมิง (ช่วงปี ค.ศ. 1368-1644) ประกอบด้วยพงศาวดารและเอกสารจีนโบราณ จำนวน 13 รายการ ซึ่งได้มีการรวบรวมไว้ในหนังสือ เอกสารและพงศาวดารจีนที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย ผู้วิจัยใช้แนวคิดการศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร์เป็นแนวคิดหลักในการวิจัยครั้งนี้ ผลการวิจัย พบว่า เอกสารจีนสมัยราชวงศ์หมิงบันทึกเกี่ยวกับอาณาจักรหลัวหูหรือละโว้มีสาระสำคัญ 2 ประการ คือ 1) บันทึกภูมิประเทศ ความอุดมสมบูรณ์และความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรเซียน และ 2) บันทึกความสัมพันธ์ระหว่างละโว้และราชสำนักจีนผ่านระบบบรรณาการหรือจิ้มก้อง โดยเป็นความสัมพันธ์ที่เริ่มเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยราชวงศ์ซ่ง ซึ่งทำให้อาณาจักรละโว้ได้รับผลดี ทั้งด้านการค้า การทูต และความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรต่างแดนอื่น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
Boosabok, P. (2022). Chinese documents in the Ming and Qing dynasty related to Thai history during the period of Ayutthaya. Journal of Arts and Thai Studies, 44(1), 134-145. [in Thai]
Chontawan, N. (2015). Evolution from Lavo to Lopburi. n.p. [in Thai]
Historical Group Office of Literature and History. (2022). Thai-Chinese relations from the document Yuan Ming Qing Dynasty. Office of
Literature and History, The Fine Arts Department. [in Thai]
Huang, Ch., & Yu, D. (2016). Information of Thailand in ancient Chinese documents《中国古籍中有关泰国资料汇编》 . Beijing University Press.
Chueamongkol, K. (2020). China-Siam, the bond of friendship from Sukhothai to Rattanakosin (2nd ed.). Siam Knowledge. [in Thai]
Numtong, K. (2020). Evidence of Lanna kingdom in ancient Chinese manuscripts: Records of eight hundred Concubine Kingdom in Ming and Qing Dynasty manuscripts. Chinese Studies Journal, Kasetsart University, 13(2), 1-113. [in Thai]
Prapagorn, P. (2023). Lawo in ancient Chinese manuscripts: A study of relationship between Lawo and China in ancient Chinese manuscripts and Chinese ancient documents. Journal of Sinology, 17(1), 87-107. [in Thai]
Tian, Y. (2007). A study of the reunification of the Xian and Lawo kingdoms《论暹与罗斛的合并》. Crossroads: Southeast Asian Studies, (5), 17-30.
Siripaisarn, S., & Boosabok, P. (2018). The Translation into Thai and study of ancient Chinese records relating to Thailand in connection
with the maritime silk road research report. Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre [Public Organisation]. [in Thai]
Wongted, S. (2018). Before there was Thainess in the Chinese Sampao inAyutthaya. http://www.matichonweekly.com/column/article_114302