หนังกวาง กับ การเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตครั้งแรกของสยาม
Main Article Content
บทคัดย่อ
การส่งออกหนังกวางไปญี่ปุ่นเป็นธุรกิจของสยามที่เฟื่องฟูอย่างยิ่งในช่วงคริสตศตวรรษที่ 17 เมื่อญี่ปุ่นดำเนินนโยบายอยู่โดดเดี่ยวราว ค.ศ. 1633 บริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดาได้ก้าวเข้ามาเป็นตัวกลางในการค้าขายดังกล่าว และประสบความสำเร็จในการผูกขาดการส่งออกหนังกวางของสยามไปญี่ปุ่น สร้างรายได้ให้บริษัทเป็นกอบเป็นกำ อย่างไรก็ดี ความขัดแย้งจากการช่วงชิงผลประโยชน์ในการผูกขาดการส่งออกหนังกวางได้นำไปสู่กรณีพิพาทระหว่างราชสำนักสยามและบริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดาเมื่อ ค.ศ. 1663 การเจรจาเพื่อยุติความขัดแย้งนี้ได้นำไปสู่ข้อตกลงอันมีผลให้สยามต้องสูญเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตให้กับตะวันตกเป็นครั้งแรก ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
Chaiprasitthikul, S. (1982). History of Southeast Asia from the past to the present. Bangkok: Ramkhamhaeng University. [in Thai]
Cushman, R. (2000). The Royal chronicles of Ayutthaya. Bangkok: Siam Society.
Eoseewong, N. (2014). Thai politics in the reign of King Narai (7th ed.). Bangkok: Matichon. [in Thai]
Gervaise, N. (2007). Histoire naturelle et politique du Royaume de Siam (2nd ed.). Bangkok: Sripanya. [in Thai]
Ketmankit, P. (1970). Record of friendship between Thailand and other countries in the 17th century. Vol. 2. Bangkok: Fine Arts Department. [in Thai]
Na Pombejra, D. (1984). A political history of SIAM under the Prasatthong Dynasty. Doctor of Philosophy Thesis, University of London.
Na Pombejra, D. (2021). Conflict of Ayutthaya-V.O.C. in the reign of King Narai Dutch even sent warships to close the Gulf of Thailand. https://www.silpa-mag.com/history/article_69509. [in Thai]
Natchamnong, T. (2017). Following in the footsteps of Kukrit: History of the Siam-Netherland Friendship Relationship, the reign of Somdej Phra Eka Thotsarot (1). https://siamrath.co.th/n/11107. [in Thai]
Nibhatsukit, W. (2007). Deer skins, fangs, elephants, forest products, Ayutthaya trade, 22nd-23rd Buddhist century. Bangkok: MuangBoran. [in Thai]
Nibhatsukit, W. (2017). Ayutthaya period history. Bangkok: Sarakadee. [in Thai]
Quan, L. (2014). Brief Chinese history. Bangkok: Matichon. [in Thai]
Reid, A. (2547). Southeast Asia in the age of commerce 1450 - 1680, Volume Two: Expansion and Crisis. Bangkok: Thailand Research Fund. [in Thai]
Smith, G. (1977). The Dutch in seventeenth-century Thailand. Illinois: Northern Illinois University.
Trisadikoon, K. (2021). Bowring treaty: A contract on matters between the Kingdom of Siam and the United Kingdom. https://pridi.or.th/th/content/2021/07/777 [in Thai]
Waithayakon, W. (2021). Thai diplomatic history (7th ed.). Bangkok: International Studies Center, Ministry of Foreign Affairs. [in Thai]