การใช้ Google Classroom กับการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนเพื่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการสร้างกราฟิกเวคเตอร์

Main Article Content

ธนพล รามฤทธิ์

บทคัดย่อ

ในการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาแนวทางใน                      การจัดการเรียนการสอนผ่าน Google Classroom ในรายวิชากราฟิกเวคเตอร์            คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2) เพื่อศึกษาถึง       ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากการเรียนการสอนของผู้เรียนและประโยชน์การใช้เทคโนโลยี                    ผ่าน Google Classroom ในรายวิชาการสร้างกราฟิกเวคเตอร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาศิลปะดิจิทัลจำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ 1) ระบบ          การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ด้วย Google Classroom ราย  วิชาการสร้างกราฟิกเวคเตอร์ 2) แบบทดสอบเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการสร้างกราฟิกเวคเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ยร้อยละ และค่าที (t-test)  ผลการวิจัยในครั้งนี้พบว่า ผลการหาประสิทธิภาพของสื่อที่ใช้การเรียนการสอนแบบออนไลน์มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .90 ซึ่งอยู่มีเกณฑ์ที่มีความเชื่อมั่นสูง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาศิลปะดิจิทัลก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อเปรียบเทียบกับนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนจันทราวาส (คุรุราษฏร์วิทยา) อำเภอลำปลายมาศ 1 ห้องเรียน จำนวน 40 คนก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Jakkaew, P. & Hemrungrote, S. (2017). The use of UTAUT2 model for understanding student perceptions using google classroom: A case study of introduction to information technology course. The international conference on digital arts, media and technology 2017, pp. 11- 17. [in Thai]

Kamel, S. & Wahba, K. (2003). The use of a hybrid model in web-based education: The global campus project. Web-based education: learning from experience, London: Hershey.

Laojaratsaeng, T. (2020). Web based instruction. Retrieved on 6 January 2020 from http://www.kroobannok.com/133 [in Thai]

Malithong, K. (2020). Web based instruction. Retrieved on 5 January 2020 from http://www.kroobannok.com/133 [in Thai]

Ministry of Education. (2001). Basic education curriculum 2001. Bangkok: Wattana Panich. [in Thai]

Nilsuk, P. (2011). Integrated learning management mixed proportions develop educational techniques. Bangkok: King Mongkut's University of Technology North Bangkok. [in Thai]

Prokop, P. (2008). The impact of alternative web-based instructional models on student persistence and achievement in education. Dissertation abstract international, pp. 33.

Ruangrong, P. & Wanchaem, M. (2015). Using google apps to develop teaching Innovations. Phitsanulok: Naresuan University. [in Thai]

Sitthiva, E. & Choothong, W. (2015). Manual for training in using google classroom innovation in teaching of Nakhon Sawan Rajabhat University. Nakhon Sawan: Rajabhat University. [in Thai]

Suttirat, C. (2009). Innovative learner-oriented learning management is important. Bangkok: Danex Inter Corporation. [in Thai]

Thiptharachan, K. & Lertradechakon, T. (2020). Development of guideline for using google apps for education with teaching in the course. Retrieved on 5 January 2020 from http://www.eng. rmutk. ac.th/engweb/dw/KM

Tultham, A. & Jansopa, U. (2016). The satisfaction towards learning management system of moodle and google classroom in teacher role. Mahasarakham: Mahasarakham University. [in Thai]

Wilbur, S. (1969). The mass media as source of public affairs, science and health knowledge. Public opinion quarterly, pp. 197 - 200.

Wiriyaworakul, P. & Ponnak, D. (2014). Google apps for education. Educational innovations in the digital age. Suan Dusit Rajabhat University Research journal, 7(3), pp. 103 - 112. [in Thai]