พฤติกรรมผู้บริโภคและการยกระดับการพัฒนา ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สู่ยุคธนาคารดิจิทัล: กรณีศึกษา ส่วนงานธุรกิจสาขาภูมิภาค 102

Main Article Content

นนท์ ปิดตาฝ้าย

บทคัดย่อ

     การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมผู้บริโภคในยุคธนาคารดิจิทัล ที่มีผลต่อการใช้บริการ และเพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)ในยุคธนาคารดิจิทัล กรณีศึกษา ส่วนงานธุรกิจสาขาภูมิภาค 102 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ สอบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน T-Test และ One Way ANOWA ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมของผู้บริโภคที่มาใช้บริการธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)  ส่วนงานธุรกิจสาขาภูมิภาค 102 ในส่วนของพนักงาน โดยรวม จัดอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านรูปแบบช่องทางสื่อออนไลน์ในการให้บริการ สำหรับผู้มาใช้บริการ โดยรวมจัดอยู่ในระดับ มากที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านรูปแบบช่องทางสื่อออนไลน์ในการให้บริการ และเมื่อเปรียบเทียบด้านพฤติกรรมโดยจำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา และรายได้ มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกันที่ระดับ .05 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของทั้ง 2 กลุ่มพบว่า ผู้มาใช้บริการมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าพนักงานธนาคาร (=C4.51>O4.25) สำหรับแนวทางในการพัฒนานั้นพบว่า ควรเพิ่มช่องทางการให้บริการที่หลากหลายมากขึ้น มีแฟลตฟอร์มที่สามารถให้บริการตอบสนองความต้องการ สะดวกรวดเร็ว มีความเสถียรในกระบวนการใช้งานของระบบธนาคาร ระบบความปลอดภัยขั้นสูง รวมถึงแผนพัฒนาพนักงานธนาคารทุกคนให้เข้าใจสามารถใช้ระบบธนาคารดิจิทัลในทุกฟังค์ชั่น เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับผู้มาใช้บริการ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Changwetchay, B. (2016). The quality of service effect on the satisfaction of passengers on BTS sky train in

Bangkok. MBA Thesis (Business Administration). Bangkok: Graduate School of Bangkok University. [in Thai]

Chuengsatiansup, K. (2019). Community disaster tools. Nonthaburi: Suksala books. [in Thai]

Itsaraporn, B. (2011). Image and marketing communication related with choose to use the government savings

bank service in Phetchabun branch. MBA Thesis (Business Administration). Phetchabun: Graduate School of

Phetchabun Rajabhat University. [in Thai]

Kong-ngern, N. (2014). The behavior of buying about the ready-drinking water in the box for the consumers in

the Muang district, Chiang Rai Province. MBA Thesis (General Management Program). Chiang Rai: Graduate

School Chiang of Rai Rajabhat University. [in Thai]

Kottha, P. (2018). Factors effect on the choice of credit card holder of Krungthai card company limited. (Public): A

case study of people in Khu Mueang District of Buriram Province. M.Econ Thesis (Political Economics and

Administration). Buriram: Graduate School Buriram of Rajabhat University. [in Thai]

Panoram, P. (2019). Guidelines for increasing income by using the King's Science of Sufficiency Agriculture: the

case of Sawaijik Community in Buriram. Interdisciplinary Management Journal of Buriam Rajabat University,

(2), (99-102). [in Thai]

Sakornsangasak, K. (2014). Marketing mix effect on consumers in Mueang Samut Sakhon District to select a

credit card issued by a commercial bank. M.A. Thesis (Business Administration) Chiang Mai: Graduate School

of Chiang Mai University. [in Thai]

Sakulsanchartthai, A. (2010). Service according to the view of service users. Krung Thai Bank Co., Ltd. (Public) in

department store, Samut Prakan Province. MBA Thesis (General Management). Bangkok: Faculty of

Management Science of Thonburi Rajabhat University. [in Thai]

Sirisoponkitsakool, C. (2015). Marketing communication related to the corporate image of Kasikorn Bank, Cha-

am branch, Cha-am district, Phetchaburi province. MBA Thesis (Public and Private Management). Bangkok:

Graduate School of Silpakorn University. [in Thai]

Trakarnjan, K. (2017). A study of digital learning of employees in PTT global public company limited, M.A. Thesis

(Communication Arts and Innovation). Bangkok: Faculty of Communication Arts and Management

Innovation, National Institute of Development Administration. [in Thai]