กลยุทธ์การบริหารวิชาการโรงเรียนขนาดเล็ก ตามแนวคิดใหม่ ของการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภาวะคุกคามของของการบริหารวิชาการโรงเรียนขนาดเล็ก เพื่อสร้างและประเมินกลยุทธ์การบริหารวิชาการโรงเรียนขนาดเล็ก ตามแนวคิดใหม่ของการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา งานวิจัยนี้ เป็นวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้อำนวยการโรงเรียนหรือผู้รักษาราชการแทน จำนวน 250 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน จากค่าดัชนีความต้องการจำเป็น วิเคราะห์โอกาสและภาวะคุกคาม และกำหนดกลยุทธ์รูปแบบของ TOWS Maxtrix และประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้จากผู้แทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์ผลการวิจัยพบว่า 1) กรอบแนวคิดการบริหารวิชาการโรงเรียนขนาดเล็ก ตามแนวคิดใหม่ของ การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล 2) กลยุทธ์การบริหารวิชาการโรงเรียนขนาดเล็ก ตามแนวคิดใหม่ของการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม มี 3 กลยุทธ์หลัก 7 กลยุทธ์รอง 24 วิธีดำเนินการ และ 3) ผลการประเมินความเหมาะสมและ ความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ย 4.57 และความเป็นไปได้ มีค่าเฉลี่ย 4.75
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
Buathong, S. (2017). Measurement and Assessment of Learning Skills in the21st
Sukhothai Thammathirat Open University. [in Thai]
Educational Queenland. (2000). A Guide to Productiove pedagogies. The University
Of Melbourne.
Im-wong, J. (2012). Guidelines for Academic Affairs Management of Small Schools
Under The Office of Nakhon Sawan Primary Educational Service Area 2.
Master of Education Program in Educational Administration, Nakhon
Sawan Rajabhat University. [in Thai]
Ministry of Education. (2015). Small School Development Strategy 2015-2018.
Bangkok: The Agricultural Cooperative Federation of Thailand. Limited.
[in Thai]
Nakhon Ratchasima Provincial Education Office. (2018). Annual performance report
for the fiscal year 2018. Nakhon Ratchasima : Nakhon Ratchasima
Provincial Education Office. [in Thai]
Office of the Education Council. (2017). Budget allocation for education. Bangkok.
[in Thai]
Pinyakorn, Ch. (2014). Social Service Management in Education For Special Needs
Children. Master of Arts Program in Social service Management,
Burapha University. [in Thai]
Sinlarat, P. (2016). Creative and Productive Learning. Bangkok: Chulalongkorn
University Press. [in Thai]
Tsuram, W. (2017). Educational Institute has to follow for free educational
policy 15 year. Doctor of Public Administration Program in Public
Administration, Mahasarakham University. [in Thai]
Vesakul, B. (2012). Thai higher education crisis. Bangkok: Chulalongkorn
University Press. [in Thai]