ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง: พื้นที่พิธีกรรมและการสะท้อนอัตลักษณ์จังหวัดบุรีรัมย์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตลักษณ์และพิธีกรรมทางศาสนาในพื้นที่ปราสาทเขาพนมรุ้ง งานวิจัยนี้ เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาข้อมูลจาก เอกสาร งานวิจัย และการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า ชาวบ้านในจังหวัดบุรีรัมย์และใกล้เคียงเชื่อกันว่าในช่วงหนึ่งของชีวิตต้องได้ขึ้นเขาพนมรุ้งเพื่อนมัสการสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งพิธีกรรมในช่วงแรกคือการปิดทองนมัสการรอยพระพุทธบาทจำลอง ต่อมาได้มี การประกอบพิธีกรรมทางศาสนาขึ้น โดยแบ่งออกเป็น 3 พิธีกรรม คือ 1) พิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์แห่งปราสาทพนมรุ้ง 2) พิธีบวงสรวงบัวแปดกลีบ 3) พิธีบวงสรวงศาลเจ้าพ่อปราสาททอง และอัตลักษณ์ที่พบในขบวนแห่ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง ได้แก่ 1) อัตลักษณ์การแสดงเรือมอัปสราบุรีรัมย์ 2) อัตลักษณ์การแต่งกายด้วยผ้าซิ่นตีนแดง 3) อัตลักษณ์ปรากฏการณ์พระอาทิตย์ตรงผ่าน 15 ช่อง ประตู ซึ่งพิธีกรรมและวัฒนธรรมที่โดดเด่นเหล่านี้ เป็นการแสดงอัตลักษณ์ที่สื่อถึงจังหวัดบุรีรัมย์ได้อย่างแยบยลและแสดงถึงความสำคัญของอัตลักษณ์จังหวัดบุรีรัมย์เป็นอย่างดี
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
Apaiso, S. (6 November 2020). Governing Officer, Professional Level at Office of Provincial Buri Ram, Muang Buri Ram District, Buri Ram Province. Interview. [in Thai]
Benjakarn, P. (2 January 2020). Buriram Rajabhat University, Retired teacher, then Ex-Leader in Thai Dramatic Arts at Buriram Rajabhat University, Muang Buri Ram District, Buri Ram Province. Interview. [in Thai]
Klaewkla, H. (14 February 2020). Ban Nong Phet Thread Weaving Group, 37 No.9, Bua Thong Ngae Sun-District, Muang Buri Ram District, Buri Ram Province, the Chief of Ban Nong Phet Thread Weaving Group. Interview. [in Thai]
Lumthaithong, S. (27 November 2020). Buriram Provincial Cultural Office, Director of Strategy and Cultural Surveillance at Buriram Provincial Cultural Office, Muang Buri Ram District, Buri Ram Province. Interview. [in Thai]
Phirun, T. (2010). Phanom Rung Historical Park: Way of the religious ritual conservation to promote cultural tourism. (Thesis). Mahasarakham: Mahasarakham University. [in Thai]
Ruengdetch, P. (2000). The Phanom Rung mountain festival towards the history and origin of the royal procession of Queen Phupinthar Lakshmi Devi of the Maharitha Pura dynasty. Buriram: Buriram Rajabhat University. [in Thai]
Saowakoon, W. (5 December 2020). 80 Ta Pek, Chaloem Phra Kiat District, Buri Ram Province, the Intendant and Believer of Chao Pho Prasatthong. Interview. [in Thai]
Sangkhakul, G. (2016). The Phanom Rung mountain festival as a “creative tradition” in contemporary Thai society. (Thesis). Bangkok: Chulalongkorn University. [in Thai]
Santisombut, Y. (2016). Human and culture. Bangkok: Thammasat University. [in Thai]
Thiensawadkit, W. (1 March 2020). Buriram IBu Café, the Chief of Guide Club in Buri Ram Province and the Expert in Tourism. Interview. [in Thai]
Tlang, S. (2015). “Creative tradition” in contemporary Thai culture. Bangkok: Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organisation).
Wansiri, N. (2007). Sociology and anthropology. Bangkok: Kasetsart University. [in Thai]
Wijit, I. (2016). Communication of identities to promote the tourism of Buriram province. Bangkok: Thammasat University. [in Thai]