ประเพณีประดิษฐ์กับการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ในงานเทศกาลภูเขาไฟบุรีรัมย์ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์

Main Article Content

อรรถพล จันทร์ศรีละมัย

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาของงานเทศกาลภูเขาไฟบุรีรัมย์ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยและข้อมูลภาคสนาม จากประชากรจำนวน 115,524 คน โดยใช้วิธีสุ่มเลือกแบบไม่เจาะจง กลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่มผู้รู้ กลุ่มผู้ปฏิบัติ กลุ่มประชาชนทั่วไป จำนวน 50 คน โดยใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสำรวจ แบบสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง ผลการศึกษา พบว่า ความเป็นมาของงานเทศกาลภูเขาไฟบุรีรัมย์  เป็นกิจกรรมที่ทางสำนักงานจังหวัดบุรีรัมย์ได้จัดขึ้นในช่วงเดือนธันวาคม มีการเริ่มจัดงานได้เพียง 2 ปีที่ผ่านมา ประกอบด้วย ปี พ.ศ. 2560 - 2561 ได้เสียงตอบรับที่ดีมากจากนักท่องเที่ยวและ มีการเตรียมจัดดำเนินงานต่อเนื่องในปีถัดไป รูปแบบการจัดงานมีการสักการะพระสุภัทรบพิตร การประดับไฟเป็นซุ้มต่าง ๆ การแสดงวิถีชุมชน การจำหน่ายสินค้าทางวัฒนธรรม การละเล่นพื้นบ้านและการแสดงแสงสีเสียง เรื่องราวของภูเขาไฟบุรีรัมย์ ซึ่งเทศกาลนี้สร้างขึ้นเพื่อรองรับการท่องเที่ยวและสร้างรายได้ให้ชุมชน ซึ่งได้รับความร่วมมือจากทั้งภาครัฐและเอกชน 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Apaiso, S. (6 November 2020). Governing Officer, Professional Level at Office of Provincial Buri Ram. Interview. [in Thai]

Appardurai, A. (1996). Modernity at large: Cultural dimension of globalization. Minneapolis: University of Minesota Press. [in Thai]

Boonchaliew, N. (2009). A collective memory of Lue in diaspora and invention of tradition. Master's thesis, Graduate school Chagmai University. [in Thai]

Dissakul, Y. (2010). Reinvented traditions and Khlong Hae community identities. Master's thesis, Graduate school Thammasat University. [in Thai]

Doungjai, N. (2012). Cultural resource management for commerce: a case study of managing Thai cuture festivals and event in department stores. Master's thesis, Graduate school Thammasat University. [in Thai]

Hongsuwan, P. (2017). The Mekong River as a stage for invented traditions in Esan. Khonkaen: Klungnana Vitthaya. [in Thai]

Nathalang, S. (2019). Creative folklore: Dynamics and application of folklore in contemporary Thai society. Bangkok: Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organisation). [in Thai]

Nitipaparnan, T. (2015). The production of cultural space for tourism: A case study of Plernwan, Hua-Hin District, Prachuabkirikhan Province. Doctor of Philosophy, Graduate school Thammasat University. [in Thai]

Singlor, N. (2015). Invent tradition and Imagined communities in Nakhon Chum. Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts), 8(3), 1192-1193. Retrieved on 30 January 2019 from https://he02.tci- thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/48086/39911 [in Thai]

Siriwong, M. (2013). Invented tradition and cultural resource management: A case study of san don ta festival, amphoe khukhan, sisaket province. Master's thesis, Graduate school Silpakorn University. [in Thai]