การประยุกต์ลายประดับปูนปั้นวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ทองเหลืองของชุมชนบ้านท่ากระยาง

Main Article Content

อิษฏ์ รานอก

บทคัดย่อ

 การวิจัยเรื่อง ลวดลายประดับตกแต่ง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดลพบุรี : การประยุกต์สู่การออกแบบผลิตภัณฑ์ทองเหลือง ชุมชนบ้านท่ากระยาง ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและรวบรวมลวดลายประดับตกแต่ง สถาปัตยกรรมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตำบลทะเลชุบศรจังหวัดลพบุรี และ แหล่งผลิตหัตถกรรมทองเหลืองบ้านท่ากระยาง ตำบลทะเลชุบศรจังหวัดลพบุรี2) วิเคราะห์และสังเคราะห์ ลวดลายประดับตกแต่ง ศึกษาจากรูปร่าง สภาพภายนอก สี พื้นผิว รูปแบบลวดลาย และผลิตภัณฑ์ทองเหลืองดั้งเดิม เพื่อประยุกต์เป็นแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์ 3)สร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ประเภทของตกแต่งบ้าน สำหรับเป็นแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทองเหลืองชุมชนบ้านท่ากระยางได้  ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้จะเป็น โดยนำต้นทุนทางวัฒนธรรมจากลวดลายกลีบบัวภายในปรางค์มหาธาตุ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดลพบุรี ท้องถิ่นได้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Best, J.W. (1981). Research in education (4thed.). New Jersey: Prentice Hall.

Fairot, Y. (2016). Pattern pattern in Buddhist art of Siam. "Patterned Ayutthaya period Part ". Bangkok: Pho Chang Technician College Rajamangala University of TechnologyRattanakosin. [in Thai]

Leksukhum, S. (2010). The Development of Thai ornament: Kranok on Thai identity. Bangkok: Mueng Boran. [in Thai]

Leiwpairot, Y. (2016). Pattern in Buddhist art of Siam. "Patterned of Ayutthaya period part I". Bangkok: Pho Chang Technician College Rajamangala University of Technology Rattanakosin. [in Thai]

Saisingha, S. (2016). Lopburi after culture Cambodia. Bangkok: Matichon Public Company Limited. [in Thai]

Thampramuan, P. (2013). Development of brass handicraft group’s potential and marketing strategies for brass handicrafts in Ban Tah Krayang, Muang District, Lop Buri Province. Lop Buri: Thepsatri Rajaphat University.

[in Thai]

Wanichakorn, A. (2016). Local product design. Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai]