ัญหาการจ ากดัสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยพทุ ธศักราช 2560

Main Article Content

ชุติกาญจน์ สายอุตส่าห์

บทคัดย่อ

บทความน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อที่จะศึกษา 1)ทฤษฎีวา่ ดว้ยเรื่องของการจา กดัสิทธิและ
เสรีภาพ และ2)ศึกษาหลกัการจา กดัสิทธิเสรีภาพที่ไดบ้ ญั ญตัิไวใ้นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัร
ไทยแต่ที่ชดัเจนที่สุด คือ ต้
งัแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย พุทธศกัราช 2540 เป็ นต้นมา
จนถึงรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย พุทธศกัราช 2560 ซึ่งเป็ นฉบับที่ใช้บังคับในปัจจุบัน จาก
การศึกษาเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทยท้
งั 3 ฉบบักบั ทฤษฎีวา่ ดว้ยเรื่องของการ
จา กดัสิทธิและเสรีภาพแลว้ พบวา่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย พุทธศกัราช 2540และ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย พุทธศกัราช 2550ไดบ้ ญั ญตัิเรื่องของการจา กดัสิทธิเสรีภาพไว้
ใน มาตรา 29โดยมีสาระสา คญั ที่เหมือนกนั กล่าวคือการที่รัฐจะจา กดัสิทธิเสรีภาพของประชาชน
น้นัจะตอ้งมีกฎหมายใหอ้า นาจและกระทา เท่าที่จา เป็น จะกระทบกระเทือนสาระสา คญั แห่งสิทธิ
เสรีภาพมิได้ตลอดจนการบงัคบัใชก้ ฎหมายตอ้งเป็นการทวั่ ไปไม่มุ่งใชบ้ งัคบัแก่กรณีใดกรณีหน่ึง
แต่ในทางกลบักนัรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย พุทธศกัราช 2560 ที่ใช้บังคับในปัจจุบัน ได้
บญั ญตัิเรื่องของการจา กดัสิทธิเสรีภาพไวใ้น มาตรา 26โดยมีใจความสา คญั ที่แตกต่างจาก
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทยในอดีตท้
งัสองฉบบั ที่ผา่ นมาโดยสาระสา คญั ในเรื่องของการ
จา กดัเท่าที่จา เป็นและการกระทบกระเทือนสาระสา คญั แห่งสิทธิเสรีภาพมิได้ซ่ึงรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกัรไทยฉบบั ปัจจุบนั จะใชค้า วา่ ไม่
เกินสมควรแก่
เหตุและจะกระทบต่อศกัด์ิศรีความเป็น
มนุษยข์องบุคคลมิได้การบญั ญตัิเน้
ือหาดงักล่าวจึงส่งผลต่อการตีความกฎหมายและการออกกฎหมายของฝ่ ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารมาจา กดัสิทธิและเสรีภาพประชาชน ตลอดจนไม่
สอดคลอ้งกบั สาระสา คญั แห่งสิทธิเสรีภาพที่รัฐจะตอ้งจา กดัสิทธิและเสรีภาพเท่าที่จา เป็นเท่าน้

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ชุติกาญจน์ สายอุตส่าห์

นางสาวชุติกาญจน์สายอุตส่าห์
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี
140 หมู่4ถนนติวานนท์ตา บลบา้นกลางอา เภอเมืองปทุมธานีจงัหวดัปทุมธานี12000
โทรศัพท์: 0-2975-6999 ต่อ722 ,09-0971-9547 อีเมล: [email protected]

References

เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์. (2547). หลักกฎหมายว่าด้วยสิทธิเสรีภาพ.กรุงเทพฯ:วิญญูชน.

บรรเจิด สิงคะเนติ. (2552). หลักพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพและศักดิ์
ศรีความเป็นมนุษย์ (พิมพค์ร้ังที่3).กรุงเทพฯ:วิญญูชน.

วรพจน์ วิศรุตพิชญ์. (2538). สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ: ศึกษารูปแบบการจ ากัดสิทธิ
เสรีภาพที่รัฐธรรมนูญให้ไว้อย่างเหมาะสม. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: ส านักงาน
กองทุนสนับสนุนงานวิจัย.

_______. (2543). สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540.
กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

วรเจตน์ ภาคีรัตน์. (2543). เงื่อนไขการตรากฎหมายจา กดั สิทธิและเสรีภาพของประชาชน
มาตรการในการควบคุมตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย.วารสาร
นิติศาสตร์, 30(2), หน้า 185-186.

วิษณุ เครืองาม. (2530). กฎหมายรัฐธรรมนูญ (พิมพค์ร้ังที่3).กรุงเทพฯ: นิติบรรณการ.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. (2548). กฎหมายรัฐธรรมนูญ: หลักการใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทย พุทธศักราช 2540.กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.