(บทปริทัศน์หนังสือ) การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต: ภาพเงาแห่งทฤษฎีรสที่ปรากฏในวรรณคดีไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผู้ปริทัศน์ได้ศึกษาภาษาสันสกฤตที่ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ในปี พ.ศ. 2542 หลังสำเร็จการศึกษาได้เข้าทำงานในวงการการศึกษาโดยเป็นอาจารย์สอนภาษาไทยและภาษาบาลี-สันสกฤตในระดับอุดมศึกษา ช่วงระยะเวลาที่ศึกษาภาษาสันสกฤตที่คณะโบราณคดี ผู้ปริทัศน์ได้สนใจอ่านหนังสือเกี่ยวกับภาษาสันสกฤตเล่มหนึ่ง หนังสือเล่มดังกล่าวมีขนาดไม่ใหญ่มาก มีเนื้อหาแปลกใหม่ ไม่ซ้ำกับใคร ด้วยการการหยิบยกเรื่อง “ทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต” มาวิเคราะห์และอธิบายในวรรณคดีไทย นับเป็นปรากฏการณ์ใหม่ในวงการภาษาและวรรณคดีสันสกฤต ผู้ปริทัศน์จึงเกิดความประทับใจหนังสือเล่มนั้นเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
Macdonell, A. (1990). A History of Sanskrit Literature. Delhi: Motilal Banarsidass.