กระบวนการพฒั นาตนตามหลกัพทุ ธจิตวทิยาเพ ื่อการต ื่นร้

Main Article Content

พระครูพิมลปัญญานุยุต (บุญทา อินต๊ะปัญญา)
สิริวัฒน์ ศรีเครือดง
ลำพอง กลมกูล

บทคัดย่อ

การวจิยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์1 ประการ ดงัน้ี1) เพื่อศึกษากระบวนการพฒั นาตนตามหลกั
พุทธจิตวิทยาเพื่อการตื่นรู้ 2) เพื่อสร้างโมเดลกระบวนการพัฒนาตนตามหลักพุทธจิตวิทยาเพื่อการ
ตื่นรู้ 3) เพื่อตรวจสอบความตรงและน าเสนอโมเดลกระบวนการพัฒนาตนตามหลักพุทธจิตวิทยา
เพื่อการตื่นรู้ผลการตรวจสอบความสอดคลอ้งของโมเดลที่พฒั นาข้ึนกบัขอ้ มูลเชิงประจกัษ์พบวา่
โมเดลมีความสอดคลอ้งกบัขอ้ มูลเชิงประจกัษ์ท้
งั 2 โมเดล ดงัน้ี1) โมเดลกระบวนการพัฒนาตน
ตามหลกัพุทธจิตวทิยาเพื่อการตื่นรู้ที่มีกลัยาณมิตรของครูในโรงเรียนวถิีพุทธเป็นตวัแปรส่งผา่ นมี
ความสอดคลอ้งกลมกลืนกบัขอ้ มูลเชิงประจกัษ์เท่ากบั 0.70 และ 0.01 อยา่ งมีนยัสา คญั ทางสถิติที่
ระดับ 0.01 และ 2)โมเดลกระบวนการพัฒนาตนตามหลักจิตวิทยาเพื่อการตื่นรู้ที่มีการพัฒนาตนตาม
หลกัไตรสิกขา เป็นตวัส่งผา่ น เท่ากบั 0.01และ0.97อยา่ งมีนยัสา คญั ทางสถิติที่ระดบั 0.01

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

พระครูพิมลปัญญานุยุต (บุญทา อินต๊ะปัญญา)

พระครูพิมลปัญญานุยุต (บุญทา อินต๊ะปัญญา)
พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาพุทธจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย ที่อยปู่ ัจจุบนั บา้นเลขที่111 หมู่ที่3วดัเขาลาน บา้นบ่อแร่-ไร่สามสี
ต าบลวังสมบูรณ์
อา เภอวงัสมบูรณ์จงัหวดัสระแกว้ โทร: 096-1827329

References

นวลศิริ เปาโรหิตย์. (2554).จิตวิทยาเบื้องต้น (พิมพค์ร้ังที่ 13). กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัย
รามค าแหง.

นิภาภทัรอยพู่ ุม่ .(2557,กรกฎาคม–ธนั วาคม). พุทธจิตวทิยากบัการพฒั นาชีวิตและสังคมไทย.
วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม. 1(2): 135-136.

นฤมลขา กญั . (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อปัญหาการเรียนวิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 4โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี.วิทยานิพนธ์ครุศาสตร
มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บรรจบ ชุณหสวัสดิกุล. (2550, พฤศจิกายน). จิตที่ตื่นรู้ จะพลิกผันโลก. (มติชนสุดสัปดาห์). (03): 93.
บุษกร วัฒนบุตร. (2555).การน าพุทธญาณวิทยา (ไตรสิกขา) และตัวแบบการบริหารจัดการความรู้
และทักษะ(KSM) เพื่อสร้ างและพัฒนาทุนมนุษย์ในองค์กรมหาชน.วิทยานิพนธ์รัฐ

ประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระ
บรมราชูปถัมภ์.

พระจะจู ญาณวิชโย. (2555). การศึกษาวิเคราะห์ความเป็ นกัลยาณมิตรของพระสารีบุตร.วิทยานิพนธ์
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระจิรวัฒน์ อุตุตมเมธี (วุฒิพงษ์). (2553). ศึกษาวิเคราะห์การศึกษาเพื่อการพัฒนาตนตามทัศนะของ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต).วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต. (2548).การพัฒนาตน.กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.
________. (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม (พิมพค์ ร้ังที่17).กรุงเทพฯ: โรง
พิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาเกรียงไกร บัวจันอัด. (2546). การเปรียบเทียบหลักค าสอนเรื่องกัลยาณมิตรกับการบรรลุ
ธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาทและพระพุทธศาสนามหายาน. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร
มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล.
พระรัชเวธน์เตชวณฺโณ (รุ่งเรือง). (2558).การจัดการเรียนรู้ ตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนทีปังกร
วิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ฯ สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 กรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระราเชนทร์ วิสารโท (ไชยเจริญ). (2546). การศึกษาเชิงวิเคราะห์หลักพุทธธรรมกับการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ ในพระพุทธศาสนา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิต
วิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระอภัย อภิชาโต (ชูขุนทด). (2554). การศึกษาหลักธรรมส าหรับพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์ใน
สังคมปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย.
พิณจ์ทอง แมนสุมิตร์ชัย. (2560). รูปแบบการสื่อสารอย่างสันติเชิงพุทธจิตวิทยา. วิทยานิพนธ์พุทธ

ศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พิณนภา หมวกยอด. (2558). การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการสร้ างเสริ มสุขภาวะทางปัญญา.
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

แม่ชีศุกร์ภาวดีณ พทัลุง. (2556).การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาตนตามหลักไตรสิกขา : กรณีศึกษาพุทธทาส
ภิกขุ.วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย.

ล าพอง กลมกูล. (2554). อิทธิพลของกระบวนการสะท้อนคิดต่อประสิทธิผลการวิจัยปฏิบัติการใน
ชั้นเรียน:การวิจัยแบบผสมวิธี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย,
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิชชุดา ฐิติโชติรัตนา. (2559).การพัฒนารูปแบบการปรึกษาแนวพุทธจิตวิทยาบูรณาการ ของ
พระสงฆ์ที่มีบทบาทให้การปรึกษา. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วิชญาภา เมธีวรฉัตร. (2557). รูปแบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงพุทธของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ภาคเหนือตอนล่าง 2. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สุทธญาณ์ โอบอ้อม. (2557). การพัฒนาศักยภาพบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามแนว
พระพุทธศาสนา. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สุริยเดว ทรีปาตี และคณะ. (2556,มกราคม-มีนาคม). การศึกษารายงานสภาวการณ์ต้นทุน ชีวิตของ
เยาวชนในสถานศึกษาประเทศไทย. วารสารกุมารเวชศาสตร์. 52(1) : 37.

สมบูรณ์เอ้ือมอารีวงศ. (2555). ์ แบบจ าลองกระบวนการผุดบังเกิดแห่งสังคมตื่นรู้ จากการก้าวข้าม
ของบุคคล:ศึกษากรณีประยงค์ รณรงค์และชุมชนไม้เรียง จังหวัดนครศรีธรรมราช.
วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สาระ มุขดี. (2559). การพัฒนารูปแบบการควบคุมตนเองตามแนวพุทธจิตวิทยาส าหรับนักศึกษา
พยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. วิทยานิพนธ์พุทธ
ศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.