ัจจัยที่มีผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงานของต ารวจจราจร กรุงเทพมหานคร
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวจิยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์1)ศึกษาปัจจยัส่วนบุคคลที่มีความสัมพนัธ์กบัความเครียดใน
การปฏิบตัิงานของตา รวจจราจรกรุงเทพมหานคร2) เปรียบเทียบความแตกต่างความเครียดในการ
ปฏิบตัิงานตา รวจจราจรกรุงเทพมหานคร ที่มีปัจจยัส่วนบุคคลแตกต่างกนั 3)ศึกษาปัจจยัดา้นการ
ปฏิบตัิงานที่มีความสัมพนัธ์กบัความเครียดในการปฏิบตัิงานของตา รวจจราจรกรุงเทพมหานคร4)
สร้างสมการพยากรณ์ทา นายความเครียดในการปฏิบตัิงานของตา รวจจราจรกรุงเทพมหานครกลุ่ม
ตวัอยา่ งที่ใชใ้นการวิจยั คือขา้ราชการตา รวจจราจรนครบาลกรุงเทพมหานคร ช้นั สัญญาบตัรและ
ช้
นั ประทวน จากกองบงัคบัการตา รวจนครบาล1-9จา นวน 88 สถานีซ่ึงเป็นหน่วยงานข้ึนตรงต่อ
กองบญั ชาการตา รวจนครบาล สา นกังานตา รวจแห่งชาติโดยกา หนดขนาดกลุ่มตวัอยา่ งตามสูตรของ
ทาโรยามาเน่ (Taro Yamane, 1973)ไดข้ นาดกลุ่มตวัอยา่ งจา นวน 354คน และทา การสุ่มตวัอยา่ ง
แบบแบ่งช้นั (Stratified Random Sampling) การศึกษาวิจัยแบบผสาน (Mixed Method) ที่ด าเนินงาน
ท้
งัเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใชใ้นการวจิยัประกอบดว้ยแบบสัมภาษณ์แบบก่ึง
โครงสร้าง (Semi-structured Interview Protocol)และแบบสอบถาม (Questionnaire) โดย
แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมนั่ ตอนที่2 เท่ากบั .917และตอนที่3 เท่ากบั .914 ซ่ึงถือวา่ อยใู่ น
ระดบั สูง ทา การวเิคราะห์ผลดว้ยสถิติค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิสหสัมพนัธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s product-moment correlation
coefficient) เปรียบเทียบความแตกต่างปัจจยัส่วนบุคคลโดยการวเิคราะห์t-test, F-test ท าการ
เปรียบเทียบรายคู่ เมื่อพบความแตกต่างดว้ยวธิีLSD และสร้างสมการถดถอยพหุคูณ (multiple
regression) และคดัเลือกตวัแปรเขา้สมการดว้ยวธิีการคดัเลือกแบบลา ดบัข้
นั (Stepwise Selection)
ผลการวจิยัพบวา่ ปัจจยัดา้นการปฏิบตัิงานที่มีผลต่อความเครียดในการปฏิบตัิงานของตา รวจ
จราจรกรุงเทพมหานครโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั ปานกลางโดยดา้นลกัษณะงาน ดา้นเวลาในการ
ปฏิบัติงาน ด้านความกา้วหนา้ในการปฏิบตัิงาน ดา้นสัมพนัธภาพกบัผบู้งัคบั บญั ชา ดา้นสัมพนัธภาพ
กบั เพื่อนร่วมงาน ดา้นสภาพแวดลอ้ มในการทา งาน ดา้นการมีส่วนร่วมในการปฏิบตัิงาน และดา้น
การสนบั สนุนจากครอบครัว มีความสัมพนัธ์กบัความเครียดในการปฏิบตัิงานของตา รวจจราจร
กรุงเทพมหานครอยางมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น