รูปแบบการพฒั นาสมรรถนะของศึกษานิเทศก ์ สังกดัส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Main Article Content

อรนุช ธนภัุทรถิรโชติ
ประหยัด ภูมิโคกรักษ์
สมบัติ ทานอก

บทคัดย่อ

การวจิยัในคร้ังน้ีมีวตัถุประสงคห์ ลกัเพื่อพฒั นารูปแบบการพฒั นาสมรรถนะของ
ศึกษานิเทศกส์ ังกดัสา นกังานเขตพ้
ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ มีข้
นั ตอน
ในการวจิยั 4ข้
นั ตอน คือ(1)ศึกษาสมรรถนะของศึกษานิเทศกส์ ังกดัสา นกังานเขตพ้
ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยศึกษาเอกสารแนวคิด ทฤษฎี วิเคราะห์ข้อมูลโดย
การวเิคราะห์เชิงเน้
ือหาและสัมภาษณ์ผทู้รงคุณวุฒิผมู้ีส่วนไดส้่วนเสีย(2)ศึกษาความตอ้งการ
จา เป็นในการพฒั นาสมรรถนะของศึกษานิเทศก์โดยวิเคราะห์ความแตกต่างระหวา่ งสภาพ
ความตอ้งการกบั สภาพที่เป็นอยใู่ นปัจจุบนั โดยการจดัลา ดบัความสา คญั ของความตอ้งการจา เป็น
ที่มีค่าPNI ต้
งัแต่0.20ข้ึนไป (3) สร้างรูปแบบการพฒั นาสมรรถนะของศึกษานิเทศก์โดยวธิี
การสนทนากลุ่ม (Focus group discussion) และยืนยันรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และ (4) ประเมิน
ความเหมาะสมรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ประเมินความเป็ นไปได้และความเป็ นประโยชน์ของ
รูปแบบโดยศึกษานิเทศก์ผลการวจิยัพบวา่ สมรรถนะของศึกษานิเทศกส์ ังกดัสา นกังานเขตพ้
ืนที่
การศึกษาประถมศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ส าคัญมี 10 สมรรถนะคือการมุ่งผลสัมฤทธ์


การใช้เทคโนโลยสีารสนเทศเพื่อการสื่อสารการวิจยัเพื่อพฒั นาการศึกษาการพฒั นาตนเองอยา่ ง
ต่อเนื่องการวเิคราะห์และการสังเคราะห์การมีวสิัยทศัน์การมีภาวะผนู้ า ทางวชิาการการสื่อสารและ
จูงใจการประกนัคุณภาพการศึกษาการทา งานเป็นทีม และรูปแบบการพฒั นาสมรรถนะ
ศึกษานิเทศก์คือ“10’s competency of supervisor model” ประกอบด้วย 5องค์ประกอบ คือ
1) แนวคิดและหลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) วิธีการด าเนินงานในการพัฒนาสมรรถนะ 3วิธีการ คือ
การเรียนรู้จากสถานที่จริงการเรียนรู้จากบุคคลอื่น และการเรียนรู้จากระบบหน่วยงาน 4) การ
ประเมินรูปแบบในด้านความเหมาะสม ความเป็ นไปได้และความเป็ นประโยชน์ และ 5) เงื่อนไข
ความสา เร็จของการใชรู้ปแบบที่สา คญั คือศึกษานิเทศกป์ ระเมินสมรรถนะและวธิีพฒั นาที่กา หนดไว้
ในรูปแบบอยา่ งจริงใจและนา ไปใชใ้นการพฒั นาตนเองตามความเป็นจริง ตลอดจนหน่วยงาน
เกี่ยวขอ้งตอ้งนา ไปกา หนดนโยบายและพฒั นาศึกษานิเทศก์

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

อรนุช ธนภัุทรถิรโชติ

นางสาวอรนุช ธนภัทรถิรโชติ
กา ลงัศึกษาระดบั ปริญญาเอก หลกัสูตร ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต (ปร.ด.) สาขาการ
บริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โทรศัพท์: 088-1143891 อีเมล: [email protected]

References

สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2558 ก). ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6.ค้นเมื่อ20 กรกฎาคม 2559 จาก
https://www.onetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/PDF
/Summary O-NET P 6, ONET M 3_2558.pd pdf
________. (2558ข). ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พ้ืนฐานช้นั มธัยมศึกษาปีที่3. ค้น
เมื่อ20 กรกฎาคม 2559 จาก https://www.onetresult niets.or.th/Announcement Web/PDF/SummaryONETM3_2558.pdf

สา นกังานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน. (2554). มุมมองแนวคิดความรู้ เกี่ยวกับ
ศึกษานิเทศก์(พิมพค์ร้ังที่1).กรุงเทพ ฯ : สา นกังานคณะกรรมการการศึกษาขนั พ้
ืนฐาน.
________. (2558). การพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยยดึภารกิจและพ้
ืนที่การปฏิบัติงานเป็ นฐาน. ค้นเมื่อ9 มกราคม 2558 จาก https://www.utqplus.com/

ส านักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2556). มาตรฐานวิชาชีพศึกษานิเทศก์.ค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2559
จากhttps://www.ksp.or.th/ksp

ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2558). ปฏิรูปการศึกษาเพื่ออนาคตประเทศไทยมั่นคง มั่งคั่ง
ยั่งยืนนโยบายด้านการศึกษาของนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์ โอชา)
(พิมพค์ร้ังที่1).กรุงเทพฯ : 21 เซ็นจูรี่จา กดั.

ส านักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2548) สมรรถนะและมาตรฐานวิชาชีพการบริหาร
ทรัพยากรบุคคล(พิมพค์ร้ังที่1).กรุงเทพ ฯ : พี. เอลีฟวงิ่ .

สุวมิล วอ่ งวาณิช. (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจ าเป็ น (พิมพค์ร้ังที่3).กรุงเทพ ฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อาภรณ์ ภู่วทิยพนัธ์. (2559). โปรแกรมพัฒนาสมรรถนะด้านบริหารจัดการส าหรับผู้น า
(พิมพค์ร้ังที่1).กรุงเทพ ฯ : สา นกัพิมพเ์อช อาร์เซ็นเตอร์.

Kaufman, R, Rojas, A.M. & Mayer, H. (1993). Needs assessment: A user’s guide. Englewood
Cliffs. NJ : Education Technology Publications.

Luis, A. H. & Juan, M. A. (2013).The development of basic competencies for sustainability in
higher education: An educational. Electronic Journal US-China Education. Vol. 3,
No. 6, 447-458.

Robert, J. N. (1999). Leadership program: A sample. Liberal Education, 76, 42-49
Seldin, P. (1988). Evaluating and developing administrative performance.
San Francisco : Jossey-Bass.