ความคาดหวงัและความคดิเห็นของบุคลากรต่อสมรรถนะของบรรณารักษ ์ งานวเิคราะห ์ ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดมหาวทิยาลยัราชภัฏ

Main Article Content

ณภาภัช วงศ์เศษ
รุ่งทิพย์ เจริญศักดิ์

บทคัดย่อ

การวจิยัในคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์1) เพื่อศึกษาความคาดหวังของบุคลากรต่อสมรรถนะ
ของบรรณารักษ์งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ 2) เพื่อศึกษา
ความคิดเห็นของบุคลากรต่อสมรรถนะของบรรณารักษง์านวเิคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ หอ้งสมุด
มหาวิทยาลัยราชภัฏ 3) เพื่อเปรียบเทียบความคาดหวงัของบุคลากรต่อสมรรถนะของบรรณารักษ์งาน
วเิคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ หอ้งสมุดมหาวทิยาลยัราชภฏั ที่มีตา แหน่งวุฒิการศึกษาและ
ประสบการณ์ในการทา งานแตกต่างกนั 4) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรต่อสมรรถนะ
ของบรรณารักษง์านวเิคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ หอ้งสมุดมหาวทิยาลยัราชภฏั ที่มีตา แหน่งวุฒิ
การศึกษาและประสบการณ์ในการทา งานแตกต่างกนั 5) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่ ง
ความคาดหวงัและความคิดเห็นของบุคลากรต่อสมรรถนะของบรรณารักษง์านวิเคราะห์ทรัพยากร
สารสนเทศ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ จ านวนประชากร 196 คน กลุ่มตวัอยา่ งจา นวน 159 คน
คิดเป็ นร้อยละ 94.6เครื่องมือที่ใชใ้นงานวจิยัเป็นแบบสอบถาม โดยใชส้ถิติซ่ึงไดแ้ก่ค่าร้อยละ
ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียวF-test (One-way ANOVA)
และการทดสอบสมมติฐานความแตกต่างโดยใช้t-test (Dependent sample) ผลการวจิยั พบวา่
1) ความคาดหวังของบุคลากรต่อสมรรถนะของบรรณารักษงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ์
โดยรวมอยใู่ นระดบั มากที่สุด คือ ดา้นคุณลกัษณะ2)ความคิดเห็นของบุคลากรต่อสมรรถนะของ
บรรณารักษ์งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศโดยรวม และรายดา้นอยใู่ นระดบั มาก3) เปรียบเทียบ


ความคาดหวงัของบุคลากรต่อสมรรถนะของบรรณารักษ์งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศที่มี
ตา แหน่งและวฒุ ิการศึกษาแตกต่างกนัโดยรวมแตกต่างกนั สา หรับประสบการณ์ในการทา งาน
แตกต่างกนั พบวา่ โดยรวมไม่แตกต่างกนั 4) เปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรต่อสมรรถนะของ
บรรณารักษ์งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศที่มีตา แหน่งและวฒุ ิการศึกษาแตกต่างกนั โดยรวม
แตกต่างกนั สา หรับประสบการณ์ในการทา งานแตกต่างกนั มีความคิดเห็นต่อสมรรถนะของ
บรรณารักษง์านวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศโดยรวมไม่แตกต่างกนั 5)การเปรียบเทียบความ
แตกต่างระหวา่ งความคาดหวงักบัความคิดเห็นของบุคลากรต่อสมรรถนะของบรรณารักษงาน ์
วิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศโดยรวมแตกต่างกนั และมีค่าเฉลี่ยของความคาดหวงัสูงกวา่ ความ
คิดเห็น

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ณภาภัช วงศ์เศษ

นางณภาภัช วงศ์เศษ
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์
คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 41/20 ต.ขามเรียง อ.กนั ทรวชิยั
จ.มหาสารคาม 44150
โทรศัพท์: 08-8773-3486 อีเมล: [email protected]

References

กาญจน์หทัย ศรีบุญเรือง. (2552). ภาพลักษณ์ปัจจุบันและภาพลักษณ์ที่คาดหวังที่มีต่อบรรณารักษ์
ส านักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.วทิยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวทิยาลยัเชียงใหม่.

ธานินทร์ ศิลป์ จารุ. (2552). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS (พิมพค์ร้ังที่10).
กรุงเทพฯ : บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

บุษราภรณ์ อัครนิธิยานนท์ (2545). ความคิดเห็นและความคาดหวังของผู้บิหารและบรรณารักษ์ต่อ
ความสามารถของบรรณารักษ์ห้องสมุดเฉพาะ. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหา
บัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พ้นพันธ์ ปิ ลกศิริ. (2555). ความคาดหวังของผู้บริหารห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่อสมรรถนะเฉพาะ
ตาแหน่งของบรรณารักษ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรชนิต ลีนาราช และกุลธิดา ท้วมสุข. (2555, กนัยายน–ธันวาคม). สภาพปัจจุบันและปัญหาการ
จัดบริการสนับสนุนการวิจัยห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยไทย. วารสารสารสนเทศศาสตร์ .
30(3): 1-28.

ลพัฐชญาณ์ กลับกลาง (2552). วิธีการปฏิบัติงานที่เป็ นเลิศ (Best Practices) ของบรรณารักษ์งาน
วิเคราะห์หมวดหมู่และท ารายการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ.
การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ภัทรรัตนา วายุบุตร. (2557). คุณลักษณะของบรรณารักษ์งานวิเคราะห์หมวดหมู่และท ารายการใน
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยรามค าแหง.

ศุมรรษตรา แสนวา. (2554). รายงานการวิจัยเรื่อง บทบาทและความรู้ ความสามารถของ
บรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา.กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

________. (2555). รายงานการวิจัยเรื่อง บทบาทและความรู้ ความสามารถของบรรณารักษ์
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา.กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.

สมาคมหอ้งสมุดแห่งประเทศไทยในพระราชูปถมั ภส์ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี. (2552). ห้องสมุด การศึกษา วิชาชีพบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ ใน
ยุคการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

อนนัศกัด์ิพวงอก. (2556). การพัฒนากลยุทธ์การสร้ างคุณค่าของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ.
วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษามหาวทิยาลยัขอนแก่น.

อัญชุลี วิจิตรเจริญ และขวัญชฎิล พิศาลพงศ์. (2555, มกราคม-มิถุนายน). สมรรถนะที่คาดหวังของ
นักสารสนเทศในห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารสมาคมห้องสมุดฯ. 5(1) : 17-30.